เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2021 รอบชิงชนะเลิศ

การแข่งขัน เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2021 รอบชิงชนะเลิศ เป็นการตัดสินหาผู้ชนะของ เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21, ฤดูกาลที่ 78 ของฟุตบอลถ้วยหลักของเยอรมนี. นัดนี้ลงเล่นไปเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ที่สนาม โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน.[4][5] แมตช์นี้ตามกำหนดเดิมจะเป็นวันเสาร์ที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2021,[6] แต่ถูกย้ายไปเป็นวันที่เร็วขึ้นก่อนที่ลีกจะจบฤดูกาลในเยอรมนี. นี่เป็นเนื่องมาจากความหนาแน่ของโปรแกรมการแข่งขันเกิดจากการเริ่มต้นฤดูกาลที่ล่าช้า, มีต้นกำเนิดมาจากการเลื่อนของการสิ้นสุดของฤดูกาลที่ผ่านมาอันเป็นผลมาจาก การระบาดทั่วของโควิด-19. เช่นเดียวกับการแข่งขันอื่นๆ, แมตช์นี้จะลงเล่น หลังปิดประตู โดยไม่มีผู้ชม.[3]

เดเอ็ฟเบ-โพคาล 2021 รอบชิงชนะเลิศ
โอลึมเพียชตาดิโยน ใน เบอร์ลิน จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ.
รายการเดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21
วันที่13 พฤษภาคม ค.ศ. 2021
สนามโอลึมเพียชตาดิโยน, เบอร์ลิน
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
มาร์โค ร็อยส์ (โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์)[1]
ผู้ตัดสินเฟลิกซ์ บรึช (มิวนิก)[2]
ผู้ชม0[note 1]
2020
2022

แมตช์นี้เป็นการพบกันระหว่าง แอร์เบ ไลพ์ซิช และ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์.

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงตารางการแข่งขัน, แมตช์นี้จะเป็นครั้งแรกของนัดชิงชนะเลิศเดเอ็ฟเบ-โพคาล นับตั้งแต่ ค.ศ. 2008 ที่จะเล่นก่อนจบฤดูกาลของลีก, และรอบชิงชนะเลิศครั้งแรกนับตั้งแต่ ค.ศ. 1985 ที่จะไม่ได้ลงเล่นในวันเสาร์. นอกจากนี้ยังเป็นรอบชิงชนะเลิศครั้งแรกในวันพฤหัสบดี, เช่นเดียวกับครั้งแรกที่ไม่ได้ลงเล่นในหนึ่ง สุดสัปดาห์, นับตั้งแต่ ค.ศ. 1984.[4]

ทีม แก้

ในตารางด้านล่างนี้, คู่ชิงชนะเลิศนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1943 จะเป็นยุคทสชัมเมอร์โพคาล, ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953 จะเป็นยุค เดเอ็ฟเบ-โพคาล.

ทีม จำนวนการลงสนามครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
แอร์เบ ไลพ์ซิช 1 (2019)
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 9 (1963, 1965, 1989, 2008, 2012, 2014, 2015, 2016, 2017)

ภูมิหลัง แก้

เส้นทางสู่รอบชิงชนะเลิศ แก้

เดเอ็ฟเบ-โพคาล เริ่มต้นกับ 64 ทีมในการแข่งขันรูปแบบถ้วยน็อคเอาต์ตกรอบเดียว. มีทั้งหมดห้ารอบนำหน้าก่อนถึงนัดชิงชนะเลิศ. แต่ละทีมถูกจับสลากพบกับทีมอื่น, และผู้ชนะหลังจบ 90 นาทีจะได้ผ่านเข้ารอบ. ถ้าเสมอกัน, 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ จะได้ลงเล่น. ถ้าผลการแข่งขันยังคงระดับอยู่, การดวลลูกโทษ จะเป็นวิธีที่นำมาใช้ในการตัดสินหาทีมชนะเลิศ.[7]

หมายเหตุ: ผลการแข่งขันด้านล่างนี้, ผลของทีมที่เข้าชิงชนะเลิศจะขึ้นเป็นตัวเลขแรก (H: เหย้า; A: เยือน).

แอร์เบ ไลพ์ซิช รอบ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
คู่แข่งขัน ผล เดเอ็ฟเบ-โพคาล ฤดูกาล 2020–21 คู่แข่งขัน ผล
แอร์สเทอ เอ็ฟเซ เนือร์นแบร์ค 3–0 (A) รอบแรก เอ็มเอ็สเฟา ดืสบวร์ค 5–0 (A)
เอฟเซ เอาค์สบวร์ค 3–0 (A) รอบสอง ไอน์ทรัคท์เบราน์ชไวค์ 2–0 (A)
เฟาเอ็ฟเอ็ล โบคุม 4–0 (H) รอบ 16 ทีมสุดท้าย เอ็สเซ พาเดอร์บอร์น 3–2
(ต่อเวลา) (H)
เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 2–0 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 1–0 (A)
แวร์เดอร์เบรเมิน 2–1
(ต่อเวลา) (A)
รอบรองชนะเลิศ โฮลสไตน์ คีล 5–0 (H)

แมตช์ แก้

รายละเอียด แก้

 
 
 
 
 
 
 
 
 
แอร์เบ ไลพ์ซิช
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
GK 1   เปแตร์ กูลาชี
CB 16   ลูคัส คลอสเตอร์มันน์
CB 5   ดาโยต์ อูปาเมกาโน   45+1'
CB 23   มาร์เซิล ฮัลสเตินแบร์ก
DM 44   เควิน คัมเปิล   62'
RM 22   นอร์ดี มูกิเอเล   62'
CM 25   ดานิ โอลโม   81'
CM 7   มาร์เซล ซาบิตเซอร์ (กัปตัน)
LM 8   อามาดู ไฮดารา   70'
CF 19   อาเล็กซันเดอร์ โซร์ลอท   46'
CF 11   ฮวัง ฮี-ชัน   46'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 33   โฆเซป มาร์ติเนซ
DF 4   วิลลี ออร์บัน
DF 6   อิบราฮิมา โกนาเต
DF 39   เบนจามิน เฮนริชส์   70'
MF 10   เอมิล ฟอร์สแบร์ย   62'
MF 18   คริสโตเฟอร์ อึนคุนคู   46'
MF 27   คอนราด ไลเมอร์   62'
FW 9   ยุสซุฟ โพลเซน   46'
FW 21   จัสติน ไกลเฟิร์ต
ผู้จัดการทีม:
  ยูลีอาน นาเกิลส์มัน
 
GK 1   โรมัน เบือร์คี
RB 26   วูกัช ปิชต์แชก
CB 16   มานูเอ็ล อาคันจี
CB 15   มัทซ์ ฮุมเมิลส์   90'
LB 13   ราฟาแอล กึไรรู
DM 23   แอมแร จัน
CM 22   จูด เบลลิงแฮม   25'   46'
CM 8   มาห์มูด ดาฮูด   50'   74'
RW 7   เจดอน แซนโช   81'   89'
CF 9   อาลิง โฮลัน   90+2'
LW 11   มาร์โค ร็อยส์ (กัปตัน)   90+2'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 40   สเตฟัน เดรล์จาชา
DF 14   นิโค ชูลซ์
DF 24   ตอมา เมอนีเย   89'
MF 6   โทมัส เดอลานีย์   74'
MF 19   ยูลีอาน บรันท์   90+2'
MF 20   ไรนิเอร์
MF 32   จิโอวานนี เรย์นา   90+2'
MF 36   อันสการ์ คนาอัฟฟ์
FW 10   ตอร์กาน อาซาร์   46'
ผู้จัดการทีม:
  เอดิน แตร์ซิช

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
มาร์โค รอยส์ (โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Mark Borsch (Mönchengladbach)
Stefan Lupp (Zossen)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Sascha Stegemann (Niederkassel)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Günter Perl (Pullach)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Markus Häcker (Waren)

ข้อมูลการแข่งขัน[8][9]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • ตัวสำรองของแต่ละทีมมีรายชื่อ 9 คน
  • แต่อาจใช้เปลี่ยนได้จริงแค่ 5 คน, อนุญาตเปลี่ยนตัวคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 2]

ดูเพิ่ม แก้

หมายเหตุ แก้

  1. 1.0 1.1 The final will be played behind closed doors due to the COVID-19 pandemic in Germany.[3]
  2. แต่ละทีมจะได้รับโอกาสเพียงสามครั้งในการเปลี่ยนตัวผู้เล่น, ด้วยโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนจะเริ่มของการต่อเวลาพิเศษและหมดครึ่งเวลาแรกในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 German Football Association [@DFB_Pokal] (14 May 2021). "Pokalsieger und euer Man of the Match bei RBL-BVB: Marco Reus!" [Cup winner and your Man of the Match of RBL-BVB: Marco Reus!] (ทวีต) (ภาษาเยอรมัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 May 2021. สืบค้นเมื่อ 14 May 2021 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Brych leitet Pokalfinale in Berlin" [Brych officiates cup final in Berlin]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 13 May 2021. สืบค้นเมื่อ 13 May 2021.
  3. 3.0 3.1 "DFB-Pokalfinale in Berlin ohne Zuschauer" [DFB-Pokal Final in Berlin without spectators]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 23 April 2021. สืบค้นเมื่อ 23 April 2021.
  4. 4.0 4.1 "Alle DFB-Pokalsieger" [All DFB-Pokal winners]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 21 May 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2016.
  5. "Rahmenterminkalender 2020/2021: Saison startet mit DFB-Pokal" [Framework schedule 2020–21: Season starts with DFB-Pokal]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 10 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
  6. "DFB-Präsidium verabschiedet Rahmenterminkalender 2020/2021" [DFB executive committee passes framework schedule 2020/2021]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 5 December 2019. สืบค้นเมื่อ 5 December 2019.
  7. "Modus" [Mode]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 15 August 2012. สืบค้นเมื่อ 11 June 2015.
  8. "Spielordnung" [Match rules] (PDF). DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. p. 58 (60 of PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-10-05. สืบค้นเมื่อ 7 February 2020.
  9. "Fünf Auswechslungen: DFB verlängert Ausnahmeregelung" [Five substitutions: DFB extends exceptional regulation]. DFB.de (ภาษาเยอรมัน). German Football Association. 31 August 2020. สืบค้นเมื่อ 3 September 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้