เจ้าชายโชโตกุ

(เปลี่ยนทางจาก เจ้าชายโชโตะกุ)

เจ้าชายโชโตกุ (ญี่ปุ่น: 聖徳太子โรมาจิShōtoku Taishi; 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 574 – 8 เมษายน ค.ศ. 622)[1] รู้จักกันในพระนาม เจ้าชายอูมายาโดะ (ญี่ปุ่น: 厩戸皇子โรมาจิUmayado no ōjî) หรือ เจ้าชายคามิตสึยะ (ญี่ปุ่น: 上宮皇子โรมาจิKamitsumiya no ōji) เป็นผู้สำเร็จราชการและนักการเมืองกึ่งตำนานในประเทศญี่ปุ่นยุคอาซูกะที่รับใช้จักรพรรดินีซูอิโกะ พระองค์เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิโยเมและเจ้าหญิงอานาโฮเบะ โนะ ฮาชิฮิโตะ พระบิดาและพระมารดาเป็นพระญาติของตระกูลโซงะ ซึ่งมีอำนาจมากในสมัยนั้น[2] และพระองค์ทรงเกี่ยวพันกับการกำจัดตระกูลโมโนโนเบะอีกด้วย[3] หลักฐานสำคัญที่ใช้อ้างอิงพระประวัติและพระกรณียกิจนั้นมาจากพงศาวดารญี่ปุ่นนาม นิฮงโชกิ เจ้าชายมีชื่อเสียงจากการปรับปรุงการบริหารราชการให้ทันสมัยและส่งเสริมศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น[4]

เจ้าชายโชโตกุ
พระบรมฉายาลักษณ์เจ้าชายโชโตกุกับบริวารสองคน ภาพสีบนผ้าไหม ญี่ปุ่นยุคคามากูระ, คริสต์ศตวรรษที่ 13
ประสูติ7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 574
สวรรคตเมษายน 8, 622(622-04-08) (48 ปี)
คู่อภิเษกอูจิ โนะ ชิตสึกาฮิ
โทจิโกะ โนะ อิรัตสึเมะ
พระราชบุตรเจ้าชายยามาชิโระ
ราชวงศ์ยามาโตะ
พระราชบิดาจักรพรรดิโยเม
พระราชมารดาเจ้าหญิงอานาโเบะ โนะ ฮาชิฮิโตะ

ลำดับวงศ์ตระกูล แก้

พระบิดามารดา

  • พระบิดา: จักรพรรดิโยเม (用明天皇, ค.ศ. 517 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 587)
  • พระมารดา: (จักรพรรดินี) เจ้าหญิงอานาโฮเบะ โนะ ฮาชิฮิโตะ (穴穂部間人皇女, สวรรคต ค.ศ. 622)

ภริยา

  • เจ้าหญิงอูจิ โนะ ไคตาโกะ (菟道貝蛸皇女, ประสูติ ค.ศ. 570) พระราชธิดาในจักรพรรดิบิดัตสึกับจักรพรรดินีซูอิโกะ
  • ทาจิบานะ โนะ โออิรัตสึเมะ ธิดาในเจ้าชายโอวาริ (橘大郎女)
    • โอรส: เจ้าชายชิรางาเบะ (白髪部王; สวรรคต 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: เจ้าหญิงเทจิมะ (手島女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
  • โทจิโกะ โนะ อิรัตสึเมะ, ธิดาในโซงะ โนะ อูมาโกะกับพระนางโมโนโนเบะ (刀自古郎女)
    • โอรส: เจ้าชายยามาชิโระ (山背大兄王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: เจ้าหญิงไซ (財王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • โอรส: เจ้าชายฮิดอกิ (日置王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: เจ้าหญิงคาตาโอกะ (片岡女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
  • พระนางคาวาฮิเดะ โนะ อิรัตสึเมะ (膳大郎女)
    • โอรส: เจ้าชายฮัตสึเนะ โนะ โอกิมิ (泊瀬王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • โอรส: เจ้าชายซาเองูซะ (三枝王;30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • โอรส: เจ้าชายโทโมชิโกะ (伊止志古王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • โอรส: เจ้าชายอาซาเรียวโกะ (麻呂古王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: ราชินีสึกิชิเนะ (舂米女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643) สมรสกับเจ้าชายยามาชิโระ
    • ธิดา: เจ้าหญิงคูนามิ (久波太女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: เจ้าหญิงโทริบูชิ (波止利 女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)
    • ธิดา: เจ้าหญิงอูมายาโกะ (馬屋古女王; 30 ธันวาคม ค.ศ. 643)

สิ่งสืบทอด แก้

โชโตกุบนธนบัตร 10,000 เยน ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1958
โชโตกุบนแสตมป์ ค.ศ. 1948

มีสถาบันหลายแห่งที่ตั้งชื่อตามโชโตกุ เช่น มหาวิทยาลัยโชโตกุกากูเอ็งและวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง (ทั้งสองแห่งอยู่ในกิฟุ) พยางค์แรกของพระนาม (聖) สามารถอ่านแบบโก-อนว่า โช และในแบบคัง-อนว่า เซ ตัวอ่านแบบหลังสามารถพบในชื่อมหาวิทยาลัยเซโตกุและวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง (ทั้งสองแห่งอยู่ในมัตสึโดะ)

สกุลเงิน แก้

พระบรมสาทิสลักษณ์ของเจ้าชายโชโตกุปรากฏลงในธนบัตร 100, 1,000, 5,000 และ 10,000 เยน[5]

ภาพ แก้

ภาพวาด แก้

ประติมากรรม แก้

อ้างอิง แก้

  1. A History of Japan, R.H.P. Mason & J.G. Caiger, Charles E. Tuttle Co., Tokyo 1977, 0221-000349-4615
  2. "Patron kings". Khyentse foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-16. สืบค้นเมื่อ 2010-03-01.
  3. Como, Michael I. (2006). Shōtoku: ethnicity, ritual, and violence in the Japanese Buddhist tradition. New York: Oxford University Press. ISBN 0-19-518861-6.
  4. "Turtle-shaped stonework at Osaka temple dates to 7th century: study". Mainichi Daily News. April 27, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 24, 2020.
  5. "Security Features of Bank of Japan Notes". Bank of Japan.
  6. Binyon, Laurence (2006). Painting in the Far East: An Introduction to the History of Pictorial Art in Asia, Especially China and Japan. Elibron. p. 85. ISBN 0-543-94830-7. The author of this portrait is unknown; it is generally held to be the work of a Korean artist, but is quite probably the work of a native hand.

ข้อมูล แก้

  • Como, Michael A. (2008). Shotoku: Ethnicity, Ritual and Violence in the Japanese Buddhist Tradition. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-518861-5
  • Varley, H. Paul (1973). Japanese Culture: A Short History. New York: Praeger Publishers.
  • Varley, Paul (1980). Jinnō Shōtōki: A Chronicle of Gods and Sovereigns. New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-04940-5; OCLC 59145842

บรรณานุกรม แก้

  • Pradel, Chari (2008). Shoko Mandara and the Cult of Prince Shotoku in the Kamakura Period, Artibus Asiae 68 (2), 215–46

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Prince Shōtoku