เครื่องราชอิสริยาภรณ์จักรวรรดิบริติช
(เปลี่ยนทางจาก เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่งจักรวรรดิบริติช (อังกฤษ: Most Excellent Order of the British Empire) คือเครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวินของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญบริติช ผู้สมควรได้รับต้องมีส่วนร่วมกับศิลปะและวิทยาศาสตร์ ทำงานร่วมกับองค์กรการกุศลและสวัสดิการ หรือการบริการสาธารณะนอกราชการ[2] สถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1917 มีห้าชั้นได้แก่ จีบีอี เคบีอีหรือดีบีอี ซีบีอี โอบีอี และเอ็มบีอี ตามลำดับ ในฝ่ายพลเรือนและทหารที่อาวุโสจะได้รับพระราชทาน ไม่ว่าจะเป็นสุภาพบุรุษจะได้บรรดาศักดิ์เป็นอัศวิน ส่วนสุภาพสตรีที่ได้รับพระราชทานจะสามารถใช้คำนำหน้านามว่าเดมได้[3]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช | |
---|---|
![]() | |
ประเภท | ราชอิสริยาภรณ์ห้าชั้น |
วันสถาปนา | 4 มิถุนายน ค.ศ. 1917 |
ประเทศ | สหราชอาณาจักร |
ผู้สมควรได้รับ | ผู้ที่สัญชาติอังกฤษหรือใครก็ตามที่ได้ทำความสำเร็จที่สำคัญแก่สหราชอาณาจักร[1] |
มอบเพื่อ | ผู้ที่ประสบความสำเร็จในระดับชาติหรือระดับภูมิภาค |
สถานะ | บัญญัติในปัจจุบัน |
ผู้สถาปนา | สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร |
ประธาน | สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร |
ลำดับเกียรติ | |
สูงกว่า | เครื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรีย |
รองมา | แตกต่างกันไป, ขึ้นอยู่กับลำดับเกียรติ![]() แพรแถบฝ่ายทหาร ![]() แพรแถบฝ่ายพลเรือน |
ชาวไทยผู้ได้รับครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯแก้ไข
- อานันท์ ปันยารชุน ชนิด Knight Commander of the Civil Division of the Most Excellent Order of the British Empire (KBE)[4]
- วิทิต มันตาภรณ์ ชนิด Knight Commander of the Civil Division of the Most Excellent Order of the British Empire (KBE)[5][6]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ "Guide to the Honours". BBC News. BBC. 10 June 2015. สืบค้นเมื่อ 25 May 2016.
- ↑ "Order of the British Empire". The Official Website of the British Monarchy. The Royal Household. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2010. สืบค้นเมื่อ 24 August 2009.
- ↑ "No. 30250". The London Gazette (2nd supplement). 24 August 1917.
- ↑ Biography of Anand Panyarachun. United Nations (19 กรกฎาคม 2562)
- ↑ ศ.กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ คนไทยคนที่สองที่ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงจากอังกฤษ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (19 กรกฎาคม 2562)
- ↑ "Honorary British Awards to Foreign Nationals – 2018".
บรรณานุกรมแก้ไข
- Galloway, Peter (1996). The Order of the British Empire. Central Chancery of the Orders of Knighthood. ISBN 0-907605-65-6.
- Hood, Frederic (1967). The Chapel of the Most Excellent Order of the British Empire, with a foreword by Prince Philip.
- "Knighthood and Chivalry" (1911). Encyclopædia Britannica, 11th ed., London: Cambridge University Press.
แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิอังกฤษ |
- The Honours system — UK Government
- Queen's Birthday and New Year honours — The London Gazette, lists recipients of honours
- "Order of Precedence in England and Wales", Velde, F. R. (2003) — Heraldica.org
- Search recommendations for the Order of the British Empire on the UK National Archives' website
- The Chapel of the Most Excellent Order of the British Empire – OBE Chapel Exterior detail — jpg image, IanMcGrawPhotos.co.uk