เขตอภิมหานครโตเกียว
ในประเทศญี่ปุ่น เขตเมืองหลวงและปริมณฑล (ญี่ปุ่น: 首都圏; โรมาจิ: Shuto-ken; ทับศัพท์: ชูโต-เค็ง) หมายถึงพื้นที่ของโตเกียวและปริมณฑล ตั้งอยู่ในภาคคันโตของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น ตามด้วย เขตมหานครเคฮันชิง
เขตเมืองหลวงและปริมณฑล 首都圏 | |
---|---|
การถอดเสียงภาษาญี่ปุ่น | |
• ฮิระงะนะ | しゅとけん |
• คันจิ | 首都圏 |
![]() | |
![]() | |
![]() | |
พิกัด: 35°41′23″N 139°41′30″E / 35.68972°N 139.69167°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 35°41′23″N 139°41′30″E / 35.68972°N 139.69167°E | |
ประเทศ | ![]() |
ภูมิภาค | คันโต |
เกาะ | ฮนชู
|
เมืองหลัก | มหานครโตเกียว โยโกฮามะ คาวาซากิ ซางามิฮาระ ไซตามะ ชิบะ |
พื้นที่ | |
• เขตเมือง | 3,925 ตร.กม. (1,515 ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 13,754 ตร.กม. (5,310 ตร.ไมล์) |
ประชากร (สำมะโนประชากร ปี 2000)[1] | |
• เขตเมือง | 32,542,946 คน |
• ความหนาแน่นเขตเมือง | 8,817 คน/ตร.กม. (21,480 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 34,607,069 คน |
• ความหนาแน่นรวมปริมณฑล | 2,516 คน/ตร.กม. (6,516 คน/ตร.ไมล์) |
จีดีพี | 2008 ประมาณการ |
ตัวเงิน[2] | US$1.941 ล้านล้าน |
อำนาจบริโภค | US$1.479 ล้านล้าน[3] (อันดับ 1 ของโลก) |
ตามประมาณการของสหประชาชาติในปี 2014 เขตอภิมหานครนี้มีประชากรกว่า 37,883,000 คน[4] ทำให้พื้นที่แห่งนี้กลายเป็นและถือเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดประชากรมากที่สุดของโลก ครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 13,500 ตารางกิโลเมตร[5] และมีความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 2,642 คน/ตารางกิโลเมตร มากกว่าความหนาแน่นประชากรของบังกลาเทศถึงเท่าตัว
เขตมหานครโตเกียวยังเป็นเขตปริมณฑลที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของโลก ด้วยมูลค่าจีดีพี (ตัวเงิน) ในปี 2008 ราว 53 ล้านล้านบาท (165 ล้านล้านเยน) และจากการวิจัยที่ตีพิมพ์โดย PricewaterhouseCoopers เขตมหานครโตเกียว มีจีดีพี (อำนาจซื้อ) 1.479 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งทำให้เขตมหานครโตเกียวกลายเป็นเขตเมืองที่มีกำลังการบริโภคสูงสุดสุดในโลก[3]
แบ่งตามประชากร
| |||
อันดับ | เขตเมืองและปริมณฑลของ | ประชากร | |
---|---|---|---|
1 | ![]() |
![]() | |
2 | ![]() |
![]() | |
3 | ![]() |
![]() | |
4 | ![]() |
![]() | |
5 | ![]() |
![]() | |
6 | ![]() |
![]() | |
7 | ![]() |
![]() | |
8 | ![]() |
![]() | |
9 | ![]() |
![]() | |
10 | ![]() |
![]() | |
ที่มา:Demographia (เม.ย. 2012)[6] |
แบ่งตามจีดีพี(อำนาจซื้อ)
| ||
อันดับ | เขตมหานคร | จีดีพี (ล้านดอลล่าร์สหรัฐ) |
---|---|---|
1 | ![]() |
![]() |
2 | ![]() |
![]() |
3 | ![]() |
![]() |
4 | ![]() |
![]() |
5 | ![]() |
![]() |
6 | ![]() |
![]() |
7 | ![]() |
![]() |
ที่มา:ブルッキングス研究所 (พ.ย. 2012) [7] |
อ้างอิง แก้ไข
- ↑ Statistics Bureau of Japan
- ↑ "平成19年度県民経済計算". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-20. สืบค้นเมื่อ 2015-08-04.
- ↑ 3.0 3.1 "Global city GDP rankings 2008-2025". Pricewaterhouse Coopers. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-04. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
- ↑ "World Urbanization Prospects, 2014 revision (online data)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-31. สืบค้นเมื่อ 2015-08-04.
- ↑ "Japan Statistics Bureau - Keihin'yō Major Metropolitan Area". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-10. สืบค้นเมื่อ 2015-08-04.
- ↑ Demographia 2011年4月発表
- ↑ Global city GDP 2011-2012 เก็บถาวร 2013-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 2012年11月発表