อีริคที่ 1 ดยุกแห่งชเลสวิก

เจ้าชายอีริคที่ 1 อเบลเซน (เดนมาร์ก: Erik 1. Abelsøn af Danmark) (ราว ค.ศ. 1241 - 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1272) เป็นเจ้าชายและขุนนางเดนมาร์ก พระองค์เป็นดยุกแห่งชเลสวิก ตั้งแต่ ค.ศ. 1260 จนกระทั่งสิ้นพระชนม์ในค.ศ. 1272 ทรงเป็นพระโอรสองค์ที่สองในพระเจ้าอเบลแห่งเดนมาร์กกับเม็ชทิลท์แห่งฮ็อลชไตน์

อีริคที่ 1 ดยุกแห่งชเลสวิก
ดยุกแห่งชเลสวิก
เจ้าชายแห่งเดนมาร์ก
ตราลัญจกรของอีริคที่ 1 ดยุกแห่งชเลสวิช ได้รับการยอมรับว่าเป็นต้นแบบแรกของตราอาร์มชเลสวิช
ดยุกแห่งชเลสวิก
ครองราชย์1260 - 1272
ก่อนหน้าวัลเดมาร์ที่ 3
ถัดไปวัลเดมาร์ที่ 4
ประสูติราว ค.ศ. 1241
สวรรคต27 พฤษภาคม ค.ศ. 1272 (ราว 31 ปี)
คู่อภิเษกมาร์เกเรเธแห่งรือเกิน
พระราชบุตร
พระนามเต็ม
อีริค อเบลเซน แอสตริดเซน
ราชวงศ์แอสตริดเซน
พระราชบิดาพระเจ้าอเบลแห่งเดนมาร์ก
พระราชมารดาเม็ชทิลท์แห่งฮ็อลชไตน์
ศาสนาโรมันคาทอลิก

ช่วงต้นพระชนม์ชีพ

แก้

หลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระเชษฐาคือ วัลเดมาร์ที่ 3 ดยุกแห่งชเลสวิก ในค.ศ. 1257 เจ้าชายอีริคทรงอ้างสิทธิในดัชชีชเลสวิก แต่พระเจ้าคริสตอฟเฟอร์ที่ 1 แห่งเดนมาร์ก สมเด็จอาของพระองค์ในฐานะเจ้าศักดินาเหนือศักดินาอื่นในเดนมาร์กทรงปฏิเสธที่จะแต่งตั้งพระองค์เป็นดยุก

ดังนั้นเจ้าชายอีริคทรงเป็นพันธมิตรกับบิชอปเปเดอ แบงแห่งสังฆมณฑลรอสคิลด์และยาโรมาร์ที่ 2 เจ้าชายแห่งรือเกินต่อต้านกษัตริย์คริสตอฟเฟอร์ พระองค์ระดมกองทัพและสามารถพิชิตเมืองโคเปนเฮเกนได้

ดยุกแห่งชเลสวิก

แก้

หลังการสวรรคตของกษัตริย์คริสตอฟเฟอร์ ในค.ศ. 1259 พระองค์จึงได้รับการสถาปนาให้เป็นดยุกในรัชกาลของยุวกษัตริย์ พระเจ้าอีริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก ผู้เป็นพระญาติในค.ศ. 1260

ในปีถัดมาพระองค์ทรงต่อสู้กับกษัตริย์อีกครั้ง ซึ่งสมเด็จพระพันปีหลวงมาร์เกเรเธ ซัมบีเรีย เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของพระราชโอรสที่ทรงพระเยาว์ พระนางทรงหวาดหวั่นในอำนาจที่มีมากขึ้นของดยุก แต่ถึงกระนั้นดยุกอีริคก็ทรงได้รับชัยชนะเหนือสมเด็จพระพันปีหลวงและกษัตริย์ในยุทธการโลเฮอเดอและทรงจับกุมทั้งสองพระองค์ไว้ เป็นผลให้ทรงได้รับผลประโยชน์อย่างมหาศาลแก่ดัชชีของพระองค์ตามสนธิสัญญาในปี 1264

ค.ศ. 1268 พระองค์ได้รับปราสาทก็อตทร็อปจากบิชอปบอนเดอแห่งชเลสวิช และทรงย้ายไปประทับที่ชวับสเต็ดท์

ดยุกอีริคสิ้นพระชนม์ในวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1272

เสกสมรสและโอรสธิดา

แก้

ดยุกอีริคเสกสมรสกับมาร์เกเรเธแห่งรือเกิน ธิดาในยาโรมาร์ที่ 2 เจ้าชายแห่งรือเกินในค.ศ. 1259 หรือ 1260 ทรงมีโอรสธิดาร่วมกันได้แก่

พงศาวลี

แก้
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. คนุต ลาวาร์ด
 
 
 
 
 
 
 
8. พระเจ้าวัลเดมาร์ที่ 1 แห่งเดนมาร์ก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. อิงเงอบอร์กแห่งเคียฟ
 
 
 
 
 
 
 
4. พระเจ้าวัลเดมาร์ที่ 2 แห่งเดนมาร์ก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. โวโลดาร์ เกล็บโบวิช เจ้าชายแห่งมินสก์
 
 
 
 
 
 
 
9. โซเฟียแห่งมินสก์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. ริเชซาแห่งโปแลนด์
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าอเบลแห่งเดนมาร์ก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. พระเจ้าอาฟงซูที่ 1 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
10. พระเจ้าซังชูที่ 1 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21. มาทิลดาแห่งซาวอย
 
 
 
 
 
 
 
5. บึเร็งการียาแห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22. ราโมน บารังเกที่ 4 เคานต์แห่งบาร์เซโลนา
 
 
 
 
 
 
 
11. ด็อลซาแห่งอารากอน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
23. เปโตรนิยาแห่งอารากอน
 
 
 
 
 
 
 
1. อีริคที่ 1 ดยุกแห่งชเลสวิก
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24. อาด็อล์ฟที่ 2 เคานต์แห่งฮ็อลชไตน์
 
 
 
 
 
 
 
12. อาด็อล์ฟที่ 3 เคานต์แห่งฮ็อลชไตน์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25. เม็ชทิลท์แห่งชวาสบวร์ค
 
 
 
 
 
 
 
6. อาด็อล์ฟที่ 4 เคานต์แห่งฮ็อลชไตน์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
26. บูร์ชาดที่ 3 แห่งเคอฟูร์ต เบอร์กราฟแห่งมักเดอบวร์ค
 
 
 
 
 
 
 
13. อเดลไฮด์แห่งเคอฟูรต์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
27. เม็ชทิลท์แห่งเกลเชน
 
 
 
 
 
 
 
3. เม็ชทิลท์แห่งฮ็อลชไตน์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. แบร์นฮาร์ทที่ 2 ลอร์ดแห่งลิพเพอ
 
 
 
 
 
 
 
14. แฮร์มันที่ 2 ลอร์ดแห่งลิพเพอ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
29. ไฮล์วิชแห่งอาเร-ฮอสทาเดิน
 
 
 
 
 
 
 
7. ไฮล์วิชแห่งลิพเพอ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
30. ซีมง เคานท์แห่งเท็คเลินบวร์ค
 
 
 
 
 
 
 
15. โอดาแห่งเท็คเลินบวร์ค
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
31. โอดาแห่งเบิร์ก-อัลเทนา
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง

แก้
ก่อนหน้า อีริคที่ 1 ดยุกแห่งชเลสวิก ถัดไป
วัลเดมาร์ที่ 3    
ดยุกแห่งชเลสวิก
(ค.ศ. 1260 - ค.ศ. 1272)
  วัลเดมาร์ที่ 4