อาหารข้างถนน
อาหารข้างถนน คืออาหารพร้อมรับประทานหรือเครื่องดื่มที่ขายข้างถนนหรือสถานที่สาธารณะต่าง ๆ เช่น ตลาด หรือ งานออกร้าน มักจะมาจากซุ้มขายอาหาร[1] รถเข็นอาหาร หรือรถบรรทุกอาหาร ขณะที่อาหารข้างถนนจะมีเฉพาะท้องถิ่น มักจะมีแพร่หลายตามบริเวณที่เป็นต้นกำเนิด อาหารข้างถนนส่วนใหญ่ยังแบ่งเป็นอาหารที่รับประทานด้วยนิ้วมือและอาหารจานด่วน และราคาถูกกว่าอาหารในภัตตาคาร จากการศึกษาขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 2007 ประชาชน 2.5 พันล้านคนรับประทานอาหารข้างถนนทุกวัน[2]
ทุกวันนี้ คนอาจจะซื้ออาหารข้างถนนด้วยเหตุผลบางประการ เช่น เพื่อได้อาหารที่ราคาสมเหตุสมผลและรสชาติในสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร เพื่อลองอาหารพื้นเมืองของแต่ละชนชาติ และเพราะความรู้สึกโหยหา[3]
ประวัติศาสตร์
แก้จากหลักฐานการบันทึกทางประวัติศาสตร์พบว่ามีการขายปลาทอดข้างถนนในสมัยกรีกโบราณ[4] หลักฐานจากการขุดค้นทางโบราณคดีของปอมเปอีพบว่ามีการขายอาหารข้างถนนอยู่เป็นจำนวนมากด้วยเช่นกัน[5]
รูปภาพ
แก้-
อาหารข้างถนนในกรุงเทพ
-
ของทอดในกรุงเทพ
-
ร้านขายข้าวโพดต้ม
-
ตั๊กแตนทอด
-
ร้านข้าวแกงข้างถนนในแอฟริกา
-
ร้านขายแมลงทอดข้างถนนในเยอรมันนี
-
ร้านอาหารข้างถนนในเม็กซิโก
-
ร้านอาหารข้างถนนในไต้หวัน
-
อาหารข้างถนนในมาดากัสการ์
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Artemis P. Simopoulos, Ramesh Venkataramana Bhat. Street Foods. Karger Publishers, 2000. p. vii. สืบค้นเมื่อ 18 April 2011.
- ↑ "Spotlight: School Children, Street Food and Micronutrient Deficiencies in Tanzania". Rome, Italy: Food and Agriculture Organization of the United Nations. February 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-30. สืบค้นเมื่อ 2008-02-20.
- ↑ The Oxford Companion to American Food and Drink. สืบค้นเมื่อ 2012-08-17.
- ↑ Cathy K. Kaufman (2006-08-30). Cooking in Ancient Civilizations. สืบค้นเมื่อ 2016-12-20.
- ↑ Food: The History of Taste. สืบค้นเมื่อ 2016-12-20.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ street food