อัลก็อยเราะวาน (อาหรับ: ٱلْقَيْرَوَان เกี่ยวกับเสียงนี้ ฟัง) เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการอัลก็อยเราะวาน ประเทศตูนิเซีย ที่มีสถานะเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก เมืองก่อตั้งโดยราชวงศ์อุมัยยะฮ์ในช่วงประมาณ ค.ศ. 670[1] ในรัชสมัยเคาะลีฟะฮ์มุอาวิยะฮ์ (ครองราชย์ ค.ศ. 661–680) เมืองนี้กลายเป็นศูนย์กลางสำคัญของผู้ศึกษาศาสนาอิสลามนิกายซุนนีและผู้เรียนรู้อัลกุรอาน[2] และทำให้มีมุสลิมเดินทางมาที่นี่จากหลายแห่งทั่วโลก โดยเป็นรองแค่มักกะฮ์ มะดีนะฮ์ และเยรูซาเลม มัสยิดใหญ่แห่งอัลก็อยเราะวานตั้งอยู่ในเมืองนี้[3][4] ใน ค.ศ. 2014 เมืองนี้มีประชากรประมาณ 187,000 คน

อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวานตั้งอยู่ในตูนิเซีย
อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวาน
ที่ตั้งในประเทศตูนิเซีย
อัลก็อยเราะวานตั้งอยู่ในตะวันออกกลาง
อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวาน (ตะวันออกกลาง)
อัลก็อยเราะวานตั้งอยู่ในแอฟริกา
อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวาน
อัลก็อยเราะวาน (แอฟริกา)
พิกัด: 35°40′38″N 10°06′03″E / 35.67722°N 10.10083°E / 35.67722; 10.10083พิกัดภูมิศาสตร์: 35°40′38″N 10°06′03″E / 35.67722°N 10.10083°E / 35.67722; 10.10083
ประเทศตูนิเซีย
เขตผู้ว่าการอัลก็อยเราะวาน
ก่อตั้งค.ศ. 670
ผู้ก่อตั้งอุกบะฮ์ อิบน์ นาเฟียะอ์
ความสูง68 เมตร (223 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2014)
 • ทั้งหมด187,000 คน
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: i, ii, iii, v, vi
อ้างอิง499
ขึ้นทะเบียน1988 (สมัยที่ 12)
พื้นที่68.02 เฮกตาร์
พื้นที่กันชน154.36 เฮกตาร์

ศัพทมูลวิทยา แก้

ศัพท์ภาษาอาหรับนี้ (ٱلْقَيْرَوَان) มีความหมายว่า "กลุ่มทหาร" หรือ "คาราวาน"[5][6] ซึ่งยืมจากศัพท์ภาษาเปอร์เซียกลางว่า kārawān[7] (เปอร์เซียสมัยใหม่: کاروان คอร์วอน) หมายถึง "แถวทหาร" (kâr ประชาชน/ทหาร + vân ด่านหน้า) หรือ "คาราวาน" (ดูสถานีคาราวาน)[8][9][10] ในภาษาเบอร์เบอร์มีชื่อว่าตีกีรวาน (Tikirwan تيكيروان)[11] ซึ่งนำชื่อภาษาอาหรับมาใช้งาน

ภูมิอากาศ แก้

อัลก็อยเราะวานมีสภาพภูมิอากาศแบบกึ่งทะเลทรายเขตร้อน (การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน BSh)

ข้อมูลภูมิอากาศของอัลก็อยเราะวาน (ค.ศ. 1981-2010, สูงสุด ค.ศ. 1901-2017)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 30.0
(86)
37.3
(99.1)
39.2
(102.6)
37.8
(100)
44.6
(112.3)
48.0
(118.4)
47.9
(118.2)
50.3
(122.5)
45.0
(113)
41.3
(106.3)
36.0
(96.8)
30.9
(87.6)
50.3
(122.5)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 17.2
(63)
18.4
(65.1)
21.1
(70)
24.3
(75.7)
29.2
(84.6)
34.3
(93.7)
37.7
(99.9)
37.5
(99.5)
32.5
(90.5)
27.8
(82)
22.2
(72)
18.3
(64.9)
26.71
(80.08)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 11.5
(52.7)
12.4
(54.3)
14.8
(58.6)
17.5
(63.5)
21.8
(71.2)
26.2
(79.2)
29.3
(84.7)
29.5
(85.1)
25.7
(78.3)
21.7
(71.1)
16.5
(61.7)
12.9
(55.2)
19.98
(67.97)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.9
(44.4)
7.3
(45.1)
9.3
(48.7)
11.7
(53.1)
15.4
(59.7)
19.3
(66.7)
22.2
(72)
22.9
(73.2)
20.4
(68.7)
16.7
(62.1)
11.7
(53.1)
8.2
(46.8)
14.33
(57.8)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -4.5
(23.9)
-3.0
(26.6)
-3.0
(26.6)
0.0
(32)
4.0
(39.2)
6.5
(43.7)
8.0
(46.4)
12.0
(53.6)
9.0
(48.2)
5.5
(41.9)
-3.0
(26.6)
-3.5
(25.7)
−4.5
(23.9)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 28.7
(1.13)
19.1
(0.752)
28.1
(1.106)
26.6
(1.047)
22.8
(0.898)
8.0
(0.315)
2.0
(0.079)
11.4
(0.449)
44.2
(1.74)
41.6
(1.638)
28.3
(1.114)
29.0
(1.142)
289.8
(11.409)
ความชื้นร้อยละ 64 62 62 61 58 53 49 53 59 65 65 65 60
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 3.5 3.7 4.9 4.3 2.9 1.6 0.7 2.1 3.5 4.3 2.9 3.5 37.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 186.0 190.4 226.3 252.0 300.7 324.0 362.7 334.8 270.0 235.6 207.0 186.0 3,075.5
แหล่งที่มา 1: Institut National de la Météorologie (หยาดน้ำฟ้า/ความชื้น/แสงอาทิตย์ ค.ศ. 1961–1990, สูงสุด ค.ศ. 1951–2017)[12][13][14][note 1]
แหล่งที่มา 2: NOAA (ความชื้นและแสงอาทิตย์ ค.ศ. 1961–1990),[16] Deutscher Wetterdienst (สูงสุด ค.ศ. 1901–1990)[17]

อ้างอิง แก้

  1. Nagendra Kr Singh, International encyclopaedia of Islamic dynasties. Anmol Publications PVT. LTD. 2002. page 1006
  2. Luscombe, David; Riley-Smith, Jonathan, บ.ก. (2004). The New Cambridge Medieval History, Volume 2; Volume 4. Cambridge University Press. p. 696. ISBN 9780521414111.
  3. Europa Publications "General Survey: Holy Places" The Middle East and North Africa 2003, p. 147. Routledge, 2003. ISBN 1-85743-132-4. "The city is regarded as a holy place for Muslims."
  4. Hutchinson Encyclopedia 1996 Edition. Helicon Publishing Ltd, Oxford. 1996. p. 572. ISBN 1-85986-107-5.
  5. Alk-Khalil ibn Ahmad, Kitab al-Ayn
  6. "القيروان". أطلس الحكمة (ภาษาอาหรับ). 2021-04-27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-27. สืบค้นเมื่อ 2021-04-27.
  7. MacKenzie, D. N. (1971) , "kārawān", in A concise Pahlavi dictionary เก็บถาวร 2012-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, London, New York, Toronto: Oxford University Press
  8. "Location and origin of the name of Kairouan". Isesco.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2011. สืบค้นเมื่อ 2010-04-12.
  9. "قيروان" เก็บถาวร 1 มีนาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[1]. Dehkhoda Dictionary.
  10. «رابطه دو سویه زبان فارسی–عربی». ماهنامه کیهان فرهنگی. دی 1383، شماره 219. صص 73–77.
  11. Al-Nuwayri, Ahmad b. Abd al-Wahhab. Nihayat al-Arab fi funun al-`Arab, Cairo: Dar al-Kutub, p. 25.
  12. "Les normales climatiques en Tunisie entre 1981 2010" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  13. "Données normales climatiques 1961-1990" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  14. "Les extrêmes climatiques en Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2019. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  15. "Réseau des stations météorologiques synoptiques de la Tunisie" (ภาษาฝรั่งเศส). Ministère du Transport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-10-05. สืบค้นเมื่อ 26 December 2019.
  16. "Kairouan Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 24 January 2015.
  17. "Klimatafel von Kairouan / Tunesien" (PDF). Baseline climate means (1961-1990) from stations all over the world (ภาษาเยอรมัน). Deutscher Wetterdienst. สืบค้นเมื่อ 19 October 2016.

หมายเหตุ แก้

  1. The Station ID for Kairouan is 33535111.[15]

แหล่งข้อมูลอื่น แก้