อาเรบีตซา

(เปลี่ยนทางจาก อักษรอเรบิกา)

อาเรบีตซา (บอสเนีย: arebica, آرەبـٖٮڄآ, ออกเสียง: [arebit͡sa] ) หรือ อาราบีตซา (arabica) เป็นอักษรอาหรับรูปแบบหนึ่งที่ใช้เขียนภาษาบอสเนีย (بۉسانسقٖى يەزٖٮق)[1] เคยใช้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 15-19 (พุทธศตวรรษที่ 20-24) เป็นความพยายามของมุสลิมที่จะพัฒนาอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาบอสเนียนอกเหนือจากอักษรละตินและอักษรซีริลลิกสำหรับภาษาเซอร์เบีย หนังสือที่พิมพ์ด้วยอักษรนี้ตีพิมพ์ครั้งสุดท้ายเมื่อ ค.ศ. 1941 (พ.ศ. 2484) อักษรนี้ใช้ในทางศาสนาและการบริหาร แต่ใช้น้อยกว่าอักษรอื่น ๆ

อาเรบีตซา
ชนิดอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย
ภาษาพูดภาษาบอสเนีย
ช่วงยุคคริสต์ศตวรรษที่ 15–20
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
หนังสือเขียน Bosnian Book of the Science of Conduct ที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1831 โดยAbdulvehab Ilhamija ผู้เขียนและกวีชาวบอสเนีย เขียนด้วยอักษรอาเรบีตซา

ต้นกำเนิด แก้

อักษรอาเรบีตซามีพื้นฐานมาจากตัวเขียนเปอร์เซีย-อาหรับที่เคยใช้ในจักรวรรดิออตโตมัน โดยเพิ่มอักษรสำหรับเสียง t͡s, ʎ และ ɲ ซึ่งไม่มีในภาษาอาหรับ ภาษาเปอร์เซีย หรือภาษาตุรกีออตโตมัน ในที่สุดก็มีการประดิษฐ์ตัวอักษรแทนเสียงสระได้ทุกเสียง อาเรบีตซาจึงจัดเป็นระบบสระ-พยัญชนะโดยแท้จริง ไม่ใช่อักษรไร้สระ

รูปแบบล่าสุดของอักษรอาเรบีตซาออกแบบโดย Mehmed Džemaludin Čaušević เมื่อราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ต้นพุทธศตวรรษที่ 25) เรียกว่าแบบมาทูฟอวีตซา (Matufovica), มาทูฟอวาตชา (Matufovača) หรือเมกเทบีตซา (Mektebica)

พยัญชนะ แก้

รูปแบบสุดท้ายของอักษรอาเรบีตซาประดิษฐ์ขึ้นในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดย Mehmed Džemaludin Čaušević.

อักษรละติน อักษรซีริลลิก อาเรบีตซา
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
A a А а ـآ آ
B b Б б ـب ـبـ بـ ب
C c Ц ц ـڄ ـڄـ ڄـ ڄ
Č č Ч ч ـچ ـچـ چـ چ [b]
Ć ć Ћ ћ
D d Д д ـد د
Dž dž Џ џ ـج ـجـ جـ ج [c]
Đ đ Ђ ђ
E e Е е ـە ە
F f Ф ф ـف ـفـ فـ ف
G g Г г ـغ ـغـ غـ غ
H h Х х ـح ـحـ حـ ح
I i И и ـاٖى
ـٖى
ـاٖٮـ
ـٖٮـ
اٖٮـ اٖى [a]
J j Ј ј ـي ـيـ يـ ي
K k К к ـق ـقـ قـ ق
L l Л л ـل ـلـ لـ ل
Lj lj Љ љ ـڵ ـڵـ ڵـ ڵ
M m М м ـم ـمـ مـ م
N n Н н ـن ـنـ نـ ن
Nj nj Њ њ ـںٛ ـٮٛـ ٮٛـ ںٛ [b]
O o О о ـۉ ۉ
P p П п ـپ ـپـ پـ پ
R r Р р ـر ر
S s С с ـس ـسـ سـ س
Š š Ш ш ـش ـشـ شـ ش
T t Т т ـت ـتـ تـ ت
U u У у ـۆ ۆ
V v В в ـو و
Z z З з ـز ز
Ž ž Ж ж ـژ ژ

หมายเหตุ

  • ^a เครื่องหมายเสริมสัทอักษรใต้ ا ปรากฏบนตัวอักษรก่อนหน้า ى
  • ^b Mustafić ใช้ ڃ กับ ݩ แทน   กับ   สำหรับอักษร Ć ć/Ћ ћ และ Nj nj/Њ њ
  • ^c Mustafić ใช้ ݗ ส่วน Al-Zubi กับ Čičak-Al-Zubi ใช้ ڠ สำหรับอักษร Đ đ/Ђ ђ

ตัวแฝด แก้

เหมือนกับภาษาอาหรับมาตรฐาน เมื่อ ا เชื่อมด้วย ل หรือ ڵ จะใช้ตัวแฝดแทน

อักษรละติน อักษรซีริลลิก อาเรบีตซา
รูปเชื่อม รูปเดี่ยว
ท้าย กลาง หน้า
la ла ـلا لا
lja ља ـڵا ڵا

ตัวอย่าง แก้

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อที่ 1 แก้

บอสเนีย (อาเรบีตซา): سوا ڵۆدسقا بیچا راجايۆ سە سلۉبۉدنا ای يەدناقا ۆ دۉستۉيانستوۆ ای پراویما. ۉنا سۆ ۉبدارەنا رازۆمۉم ای سویيەشڃۆ ای ترەبا دا يەدنۉ پرەما درۆغۉمە پۉستۆپايۆ ۆ دۆحۆ براتستوا.
บอสเนีย (อักษรละติน): Sva ljudska bića rađaju se slobodna i jednaka u dostojanstvu i pravima. Ona su obdarena razumom i sviješću i treba da jedno prema drugome postupaju u duhu bratstva.
บอสเนีย (อักษรซีริลลิก): Сва људска бића рађају се слободна и једнака у достојанству и правима. Она су обдарена разумом и свијешћу и треба да једно према другоме поступају у духу братства.
ไทย: มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในศักดิ์ศรี และสิทธิ ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ

เตหะราน แก้

บอสเนีย (อาเรบีตซา): تەهەران يە غلاونی ای نايوەڃی غراد ایرانا، سيەدیشتە تەهەرانسقە پۉقرايینە ای يەدان ۉد نايوەڃیح غرادۉوا سویيەتا.
บอสเนีย (อักษรละติน): Teheran je glavni i najveći grad Irana, sjedište Teheranske pokrajine i jedan od najvećih gradova svijeta.
บอสเนีย (อักษรซีริลลิก): Техеран је главни и највећи град Ирана, сједиште Техеранске покрајине и један од највећих градова свијета.
ไทย: เตหะรานเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศอิหร่าน ซึ่งเป็นเมืองหลักของจังหวัดเตหะรานและเป็นหนึ่งในเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก

อ้างอิง แก้

  1. Hindi (2005). Keith Brown (บ.ก.). Encyclopedia of Language and Linguistics (2 ed.). Elsevier. ISBN 0-08-044299-4.
  • Enciklopedija leksikografskog zavoda, entry: Arabica. Jugoslavenski leksikografski zavod, Zagreb, 1966

แหล่งข้อมูลอื่น แก้