อักษรรูนส์ ฮังการี

อักษรฮังการีเก่า หรือ อักษรรูนส์ฮังการี (ฮังการี: Székely-magyar rovás หรือ rovásírás) เป็นระบบการเขียนอักษรในภาษาฮังการี ภาษาฮังการีสมัยใหม่เขียนด้วยชุดตัวอักษรฮังการีทีมีฐานจากอักษรละติน ส่วนคำว่า "เก่า" สื่อถึงลำดับความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของอักษรเมื่อเปรียบเทียบกับอักษรฐานละติน[1] อักษรฮังการีเก่าเป็นอักษรรุ่นลูกของอักษรเตอร์กิกเก่า [ต้องการอ้างอิง]

อักษรฮังการีเก่า
ชนิดอักษร
ภาษาพูดฮังการี
ช่วงยุครับรองในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ใช้งานน้อยจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟื้นฟูในคริสต์ศตวรรษที่ 20
ระบบแม่
เตอร์กิกเก่า
  • อักษรฮังการีเก่า
ช่วงยูนิโคดU+10C80–U+10CFF
ISO 15924Hung
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด

ชาวฮังการีเริ่มตั้งถิ่นฐานในแอ่งคาร์เพเทียนเมื่อ ค.ศ. 895 หลังจัดตั้งราชอาณาจักรฮังการี ก็มีการยกเลิกใช้อักษรบางส่วนและใช้อักษรละตินแทน

ชื่อภาษาอังกฤษในมาตรฐาน ISO 15924 คือ Old Hungarian (Hungarian Runic)[2][3]

ชื่อ แก้

ในภาษาฮังการีสมัยใหม่ อักษรนี้มีชื่อทางการว่า Székely rovásírás ('อักษร Szekler')[4] โดยทั่วไป ระบบการเขียนนี้มีชื่อว่า rovásírás, székely rovásírás[4] และ székely-magyar írás (หรือสั้น ๆ ว่า rovás 'รอยบาก, รอย')[5]

อักษร แก้

อักษรรูนนี้มี 42 ตัว เนื่องจากเป็นอักษรเตอร์กิกเก่า ทำให้บางพยัญชนะมีสองรูป รูปหนึ่งใช้ร่วมกับสระหลัง (a, á, o, ó, u, ú) ส่วนอีกรูปหนึ่งใช้กับสระหน้า (e, é, i, í, ö, ő, ü, ű) ชื่อพยัญชนะต้องออกเสียงพร้อมสระ ในชุดพยัญชนะเก่า ลำดับพยัญชนะ-สระอยู่ตรงข้ามกับแบบสมัยใหม่ (ep แทน ) ชุดตัวอักษรนี้ๆม่มีอักษรสำหรับหน่วยเสียง dz และ dzs ในภาษาฮังการีสมัยใหม่ และไม่มีอักษรสำหรับ q, w, x และ y ในอักษรละติน

อักษร ชื่อ หน่วยเสียง (สัทอักษรสากล) ฮังการีเก่า (ภาพ) ฮังการีเก่า (ยูนิโคด)
A a /ɒ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Á á /aː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
B eb /b/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
C ec /ts/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Cs ecs /tʃ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
D ed /d/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(Dz) dzé /dz/   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(Dzs) dzsé /dʒ/   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
E e /ɛ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
É é /eː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
F ef /f/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
G eg /ɡ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Gy egy /ɟ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
H eh /h/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
I i /i/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Í í /iː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
J ej /j/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
K ek /k/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
K ak /k/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
L el /l/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ly elly, el-ipszilon /j/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
M em /m/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
N en /n/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ny eny /ɲ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
O o /o/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ó ó /oː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ö ö /ø/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ő ő /øː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
P ep /p/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(Q) eq (/kv/)   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
R er /r/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
S es /ʃ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Sz esz /s/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
T et /t/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ty ety /c/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
U u /u/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ú ú /uː/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ü ü /y/     แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Ű ű /yː/     แม่แบบ:Script/Old Hungarian
V ev /v/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(W) dupla vé /v/   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(X) iksz (/ks/)   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
(Y) ipszilon /i/ ~ /j/   ตัวแฝดของ แม่แบบ:Script/Old Hungarian กับ แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Z ez /z/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian
Zs ezs /ʒ/   แม่แบบ:Script/Old Hungarian

อักษรรูนฮังการีเก่ายังมีอักษรรูนที่ไม่ใช่อักษร แต่เป็นสัญลักษณ์ต่างหาก บางข้อมูลระบุเป็น "capita dictionum" (น่าจะเป็นรูปสะกดผิดจาก capita dicarum[6]) ตัวอย่างที่พบได้ทั่วไป มีดังนี้:

ตัวเลข แก้

 
ตัวเลขฮังการี
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 50 100 500 1000
                           
แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian แม่แบบ:Script/Old Hungarian

ตัวอย่างข้อความ แก้

 
ข้อความจาก Csikszentmárton, ค.ศ. 1501


ข้อความจาก Csíkszentmárton, ค.ศ. 1501 อักษรรูนที่มีเส้นใต้เดิมเขียนเป็นตัวแฝด

ถอดอักขระในยูนิโคด: แม่แบบ:Script/Old Hungarian

ตีความในภาษาฮังการีเก่า : "ÚRNaK SZÜLeTéSéTÜL FOGVÁN ÍRNaK eZeRÖTSZÁZeGY eSZTeNDŐBE MÁTYáS JÁNOS eSTYTáN KOVÁCS CSINÁLTáK MÁTYáSMeSTeR GeRGeLYMeSTeRCSINÁLTÁK G IJ A aS I LY LY LT A" (อักษรนี้ในจารึกเขียนด้วยอักษรรูนแบบตัวพิมพ์ใหญ่)

ตีความในภาษาฮังการีสมัยใหม่: "(Ezt) az Úr születése utáni 1501. évben írták. Mátyás, János, István kovácsok csinálták. Mátyás mester (és) Gergely mester csinálták gijas ily ly lta"

แปลภาษาอังกฤษ: "(This) was written in the 1501st year of our Lord. The smiths Matthias, John (and) Stephen did (this). Master Matthias (and) Master Gregory did (ตีความไม่ได้)"

อ้างอิง แก้

  1. "Consolidated proposal for encoding the Old Hungarian script in the UCS" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-31.
  2. "ISO 15924/RA Notice of Changes". ISO 15924. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-30.
  3. Code request for the Rovas script in ISO 15924 (2012-10-20)[ลิงก์เสีย]
  4. 4.0 4.1 ไม่พบไฟล์เสียง "Szekely rovasiras.ogg"
  5. by the public. From the verb 'to carve', 'to score' since the letters were usually carved on wood or sticks.
  6. "Rovásírás ROVÁSÍRÁS Csudabogarak". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-28. สืบค้นเมื่อ 2017-09-24.

ข้อมูล แก้

อังกฤษ แก้

  • Gábor Hosszú (2011): Heritage of Scribes. The Relation of Rovas Scripts to Eurasian Writing Systems. First edition. Budapest: Rovas Foundation, ISBN 978-963-88437-4-6, fully available from Google Books
  • Edward D. Rockstein: "The Mystery of the Székely Runes", Epigraphic Society Occasional Papers, Vol. 19, 1990, pp. 176–183

ฮังการี แก้

  • Új Magyar Lexikon (New Hungarian Encyclopaedia) – Akadémiai Kiadó, Budapest, 1962 (Volume 5) ISBN 963-05-2808-8
  • Gyula Sebestyén: A magyar rovásírás hiteles emlékei, Budapest, 1915

ละติน แก้

  • J. Thelegdi: Rudimenta priscae Hunnorum linguae brevibus quaestionibus et responsionibus comprehensa, Batavia, 1598

แหล่งข้อมูอื่น แก้

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Old Hungarian script