อักษรบูรีโวลิโอ

อักษรบูรีโวลิโอ (โวลิโอ: بُرِ وٚلِيٚ, Buri Wolio) เป็นอักษรอาหรับที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรยาวี ดัดแปลงมาเพื่อใช้เขียนภาษาโวลีโอซึ่งเป็นภาษาที่ใช้พูดในเมืองเบาเบา เกาะบูตน จังหวัดซูลาเวซีตะวันออกเฉียงใต้ อินโดนีเซีย อักษรนี้มีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรยาวี ต่างกันเพียงว่าอักษรบูรีโวลิโอนี้มีเครื่องหมายแทนสระด้วย อักษรนี้ประกอบด้วยอักษร 22 ตัว มาจากอักษรอาหรับ 17 ตัว และอักษรยาวี 5 ตัว[1]

บูรีโวลิโอ
กวีอิสลามในอักษรบูรีโวลิโอ
ชนิดอักษรไร้สระ
ภาษาพูดภาษาโวลิโอ
ช่วงยุคประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงปัจจุบัน
ระบบแม่
ระบบพี่น้องอักษรเปโกน, อักษรยาวี, อักษรโซราเบ
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทศาสตร์สัทอักษรสากล หากไม่มีการสนับสนุนเร็นเดอร์ที่เหมาะสม คุณอาจเห็นเครื่องหมายคำถาม กล่อง หรือสัญลักษณ์อื่นแทนอักขระยูนิโค้ด
ป้ายถนนสุลต่านฮาซานุดดิน สองภาษาในจังหวัดซูลาเวซีตะวันออกเฉียงใต้ ทั้งอักษรบาฮาซาอินโดนีเซียและอักษรบูรีโวลิโอ

ไม่เป็นที่กระจ่างว่ามีการใช้งานอักษรบูรีโวลิโอเป็นครั้งแรกเมื่อใด แต่รายงานจากเอกสารตัวเขียนบูตนที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่พบประมาณการว่าอักษรนี้มีขึ้นตั้งแต่การเข้ามาของศาสนาอิสลามที่เกาะบูตนเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16[2][3] และเนื่องจากภาษาโวลิโอเป็ยภาษากลางของรัฐสุลต่านบูตน ทำให้มีการใช้อักษรนี้ในงานเขียนสมัยโบราณบนเกาะบูตน เช่น ตำรากฎหมาย ตำราศาสนา และจดหมายทางการทูต[3]

ชุดตัวอักษร แก้

อักษร แก้

อักษรบูรีโวลิโอประกอบด้วยอักษรหลัก 22 ตัว ซึ่งแบ่งเป็นอักษร 15 ตัวที่มาจากอักษรอาหรับ และอักษรใหม่ 7 ตัวที่สร้างขึ้นด้วยการเพิ่มจุดลงในอักษรอาหรับที่มีอยู่แล้ว อักษรใหม่เหล่านั้นถูกเน้นในตารางด้านล่าง นอกจากนี้ยังมีอักษรเพิ่มเติม 13 ตัวที่ใช้เฉพาะในคำยืมจากภาษาอาหรับหรือภาษาในยุโรป[4][3]

อักษรหลักในอักษรบูรีโวลิโอ
ชื่อ รูป แทนเสียง เทียบอักษรละติน หมายเหตุ
เดี่ยว ท้าย กลาง ต้น
ʾalif
أَلِف
ا ـا /ʔ/ ā / ʾ ในภาษาโวลิโอออกเสียงเป็น /ʔ/ ส่วนในคำยืมสามารถออกเสียงเป็น /ā/
bāʾ
باء
ب ـب ـبـ بـ /b/ b หน่วยเสียง /b/ ที่กลมกลืนตามเสียงหลัง
ḃā
ڀَا
ڀ ـڀ ـڀـ ڀـ /bʰ/ อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
tāʾ
تاء
ت ـت ـتـ تـ /t/ t
jīm
جِيم
ج ـج ـجـ جـ /d͡ʒ/ j

چَا
چ ـچ ـچـ چـ /t͡ʃ/ c อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
dal
دَال
د ـد /d/ d หน่วยเสียงในเสียงพยัญชนะหยุด /d/
ḋā
ڊَا
ڊ ـڊ /dʰ/ อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
rāʾ
رَاء
ر ـر /r/ r
zāyn
زَاين
ز ـز /z/ z
sīn
سِين
س ـس ـسـ سـ /s/ s
ngā
ڠَا
ڠ ـڠ ـڠـ ڠـ /ŋ/ ng อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ

ڨَا
ڤ ـڤ ـڤـ ڤـ /p/ p อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
kāf
كَاف
ك ـك ـكـ كـ /k/ k

ڬَا
ڬ ـڬ ـڬـ ڬـ /ɡ/ g อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
lām
لاَم
ل ـل ـلـ لـ /l/ l
mīm
مِيم
م ـم ـمـ مـ /m/ m
nūn
نون
ن ـن ـنـ نـ /n/ n
nyā
ۑَا
ۑ ـۑ ـۑـ ۑـ /ɲ/ ny อักษรใหม่ที่ไม่พบในอักษรอาหรับ
hāʾ
هَاء
ه ـه ـهـ هـ /h/ h
wāw
وَاو
و ـو /w/
yāʾ
ياء
ي ـي ـيـ يـ /a/ a / y ในภาษาโวลิโอออกเสียงเป็น /a/ ส่วนคำยืมออกเสียงเป็น /j/
อักษรเพิ่มเติม
ชื่อ รูป แทนเสียง เทียบอักษรละติน
เดี่ยว ท้าย กลาง หน้า
ṡāʾ
ثَاء
ث ـث ـثـ ثـ /s/ s
Ha
حَاء
ح ـح ـحـ حـ /h/
khāʾ
خَاء
خ ـخ ـخـ خـ /x/ kh
żāl
ذَال
ذ ـذ /z/ z
syin
شِين
ش ـش ـشـ شـ /ʃ/ sy
ṣād
صَاد
ص ـص ـصـ صـ /s/ s
ḍād
ضَاد
ض ـض ـضـ ضـ /d/ d
ṭāʾ
طَاء
ط ـط ـطـ طـ /t/ t
ẓāʾ
ظَاء
ظ ـظ ـظـ ظـ /z/ z
ʿayn
عَيْن
ع ـع ـعـ عـ /ʔ/ ʿ
ghayn
غَيْن
غ ـغ ـغـ غـ /ɣ/ gh
fāʾ
فَاء
ف ـف ـفـ فـ /f/ f
qāf
قَاف
ق ـق ـقـ قـ /q/ q

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร แก้

อักษรบูรีโวลิโอไม่สามารถอ่านออกโดยไม่มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษร ซึ่งต่างจากอักษรยาวีและอักษรเปโกน รูปร่างและตำแหน่งของเครื่องหมายเสริมสัทอักษรมีความสำคัญมาก โดยอักษรบูรีโวลิโอมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรถึง 6 รูปแบบ ได้แก่ เครื่องหมายเสริมสัทอักษรซุกูน (สระศูนย์) เครื่องหมายเสริมสัทอักษร 3 แบบที่มาจากภาษาอาหรับ แทนเสียง /a/, /i/ และ /u/ และเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใหม่สองตัวที่พบได้ในอักษรบูรีโวลิโอ ซึ่งแทนเสียง /e/ กับ /o/ เครื่องหมายเสริมสัทอักษรทั้งหมดทำหน้าที่เป็นสระเสียงสั้น ส่วนอักษร "ا‎", "و‎" หรือ "ي‎" จะทำให้เกิดเครื่องหมายเสริมสัทอักษรเป็นสระเสียงยาว

เครื่องหมายเสริมสัทอักษรในอักษรบูรีโวลิโอ
ซุกูน
(สระศูนย์)
สั้น ยาว
-a -i -u -e -o
◌ْ ◌َ ◌ِ ◌ُ ◌ࣹ ◌ٚ ◌َا ◌ِيْـ / ◌ِيْ ◌ُوْ ◌ࣹيْـ / ◌ࣹيْ ◌ٚوْ
สระเป็นเสียงแรกของพยางค์
สั้น ยาว
A I U E O Ā Ī Ū Ē Ō
يَـ / يَ يِـ / يِ يُـ / يُ يࣹـ / يࣹ يٚـ / يٚ يَا يِيْـ / يِيْ يُوْ يࣹيْـ / يࣹيْ يٚوْ
สระตามหลังพยัญชนะ
ซุกูน
(สระศูนย์)
สั้น ยาว
S Sa Si Su Se So
سْـ / سْ سَـ / سَ سِـ / سِ سُـ / سُ سࣹـ / سࣹ سٚـ / سٚ سَا سِيْـ / سِيْ سُوْ سࣹيْـ / سࣹيْ سٚوْ

คำซ้ำ แก้

ในอักษรบูรีโวลิโอ คำซ้ำสร้างขึ้นด้วยวิธีคล้ายกับของอักษรยาวีและอักษรเปโกนที่การใช้ตัวเลข "٢" หลังฐานศัพท์

ถ้าคำศัพท์เป็นคำต่อท้าย เลข "٢" จะปรากฏระหว่างฐานศัพท์กับคำต่อท้าย ทำให้ตัวซ้ำตัวอยู่ตรงกลางคำศัพท์[5]

ข้างล่างคือตัวอย่างคำศัพท์พื้นฐาน:[5]

อักษรบูรีโวลิโอ อักษรละติน
هُمْبُ۲ humbu-humbu
سُمْبࣹ۲ sumbe-sumbe
يِنْچࣹمَ۲ incema-incema
ڠَوُ۲نَ ngawu-ngawuna

ตัวอย่าง แก้

ข้อความข้างล่างเป็นตัวอย่างกวีภาษาโวลิโอ "Kaḃanti Bunga Malati" ซึ่งเขียนใหม่เป็นอักษรละตินโวลิโอใน ค.ศ. 2004[6][5]

ภาษาโวลิโอ แปลภาษาอินโดนีเซีย[6]
อักษรบูรีโวลิโอ[5] อักษรละติน
مِنْچُيَنَڨٚ يِسَرٚڠِ رَڠْكَيࣹيَ
نࣹسَبُتُنَ يَڀَرِ اَرَتَانَ
تَبࣹيَنَمٚ يِسَرٚڠِ رَڠْكَيࣹيَ
هࣹڠْڬَ حَقُنَ يَڨࣹكَڊُوَيَكَمٚ

Mincuanapo isarongi rangkaea

Ne sabutuna aḃari ʾaratāna

Tabeanamo isarongi rangkaea

Hengga ḥaquna apekaḋawuakamo

Belumlah dikatakan orang kaya

Kalau hanya banyak hartanya

Tapi yang dikatakan kaya

Miliknya pun rela diberikannya

مِنْچُيَنَڨٚ يِسَرٚڠِ مِسِكِنِ
نࣹسَبُتُنَ يِنْدَ تࣹئَرَتَانَ
تَبࣹيَنَمٚ يِسَرٚڠِ مِسِكِنِ
يَڨࣹيْلُيَ عَرَسِ كٚحَقُنَ

Mincuanapo isarongi misikini

Ne sabutuna inda teʾaratāna

Tabeanamo isarongi misikini

Apēlua ʿarasi koḥaquna

Bukanlah dinamakan orang miskin

Jika hanya tidak punya harta

Sebenarnya orang miskin itu

(adalah orang yang) Masih mengharapkan hak sesamanya

مِنْچُيَنَڨٚ يِسَرٚڠِ مَرَدِكَ
نࣹسَبُتُنَ يَڨٚوْڨُيَ يِڨَيُ
تَبࣹيَنَمٚ يِسَرٚڠِ مَرَدِكَ
يَمَرَدِكَمٚ يِوَانَ نَرَكَا

Mincuanapo isarongi maradika

Ne sabutuna apōpua ipau

Tabeanamo isarongi maradika

Amaradikamo iwāna narakā

Belumlah dikatakan merdeka

Kalau hanya memangku jabatan

Sebenarnya yang (dikatakan) merdeka itu

(adalah orang yang) Sudah bebas dari api neraka

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Bahasa Wolio di Kerajaan Buton" (ภาษาอินโดนีเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-01. สืบค้นเมื่อ 2018-05-01.
  2. Hiroko K. Yamaguchi (2007). "Manuskrip Buton: Keistimewaan dan nilai budaya". SARI: Jurnal Alam dan Tamadun Melayu (ภาษาอังกฤษ). 25: 41–50. ISSN 0127-2721. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-12. สืบค้นเมื่อ 2021-07-01.
  3. 3.0 3.1 3.2 Niampe, La (2011-03-01). "Bahasa Wolio Di Kerajaan Buton". Linguistika: Buletin Ilmiah Program Magister Linguistik Universitas Udayana (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 18. ISSN 2656-6419.
  4. Abas, Husen (1983). Struktur Bahasa Wolio (PDF). Jakarta: Pusat Pembinaan dan Pengembangan Bahasa Departemen Pendidikan dan Kebudayaan. p. 5.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 "Bunga Malati". Endangered Archives Programme (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-07-01.
  6. 6.0 6.1 Niampe, La (1999). Kabanti oni Wolio = Puisi berbahasa Wolio. Jakarta: Pusat Pembinaan dan Pengembangan Bahasa, Departemen Pendidikan dan Kebudayaan. ISBN 979-459-927-1. OCLC 43790835.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้