พลเรือเอก อมร ศิริกายะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ และเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารเรือไทย

อมร ศิริกายะ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ดำรงตำแหน่ง
21 มีนาคม พ.ศ. 2523 – 19 มีนาคม พ.ศ. 2526
นายกรัฐมนตรีพล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
ก่อนหน้าสมพร บุณยคุปต์
ถัดไปสมัคร สุนทรเวช
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด5 มิถุนายน พ.ศ. 2461
เสียชีวิตพ.ศ. 2558 (97 ปี)[1]

พล.ร.อ. อมร เป็นบุตรของขุนประนาทนราบท (เซียม ศิริกายะ)[2] เป็นนักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 1[3]

การทำงาน แก้

พล.ร.อ. อมร ศิริกายะ รับราชการในสังกัดกองทัพเรือไทย จนได้รับตำแหน่งสูงสุดเป็นผู้บัญชาการทหารเรือ ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2521 ก่อนจะเกษียณอายุราชการเพียงหนึ่งเดือน พล.ร.อ. อมร ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์[4] แทนพล.ร.อ. ถวิล รายนานนท์ ซึ่งสลับไปรับตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

ในปี พ.ศ. 2522 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในคณะรัฐมนตรีคณะต่อมา[5] และเป็นสมาชิกวุฒิสภา[6]

ในปี พ.ศ. 2523 ในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 42 นำโดยพล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม[7]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย แก้

เครื่องอิสริยาภรณ์สากล แก้

เครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ แก้

  •   เวียดนามใต้ :
    • พ.ศ. ไม่ปรากฏ -   เครื่องอิสริยาภรณ์ราชการดีเด่นเวียดนาม ชั้นที่ 2 (ทหารเรือ)

อ้างอิง แก้

  1. "หลวงสุวิชานแพทย์ พลเรือตรีหลวงสุวิชานแพทย์ พล.ร.ต. หลวงสุวิชานแพทย์". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-19. สืบค้นเมื่อ 2019-03-25.
  2. รายชื่อศิษย์เก่านักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 1[ลิงก์เสีย]
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (พลเอก เล็ก แนวมาลี พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ พลเรือเอก ถวิล รายนานนท์ พลเอก ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา พลเรือเอก อมร ศิริกายะ)
  4. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๔๔ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-09-23. สืบค้นเมื่อ 2019-10-29.
  5. วุฒิสมาชิกชุดที่ 5
  6. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๗ ราย)" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-10-25. สืบค้นเมื่อ 2015-10-06.
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๔ ตอนที่ ๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๗, ๖ มกราคม ๒๕๒๐
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๕๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๑, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๔
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๒ ตอนที่ ๙๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๒, ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๑๘
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ และเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับผู้กระทำความชอบมีบาดเจ็บหนึ่งครั้ง, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๖๙๘, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๘๔
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๘๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗๐๔, ๘ กันยายน ๒๕๐๕
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๖๘ ง หน้า ๒๑๘๐, ๖ กันยายน ๒๔๙๘
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๕ ตอนที่ ๙๘ ง หน้า ๓๑๓๔, ๑๙ กันยายน ๒๕๒๑
  14. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนาม ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๔๙๙, ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๘
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๙๒ ตอนที่ ๑๒๗ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๕๘, ๗ กรกฎาคม ๒๕๑๘
  16. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๘ ตอนที่ ๗๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๔๘, ๑๒ ธันวาคม ๒๔๙๔
  17. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๒๕ ง หน้า ๘๘๔, ๑๙ มีนาคม ๒๕๑๑
  18. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 72 ตอนที่ 75 หน้า 2276, 20 กันยายน 2498