หลักการสอดคล้องในตัวเองของนาวิคอฟ

เป็นหลักการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนักฟิสิกส์ชาวรัสเซียชื่อ อิกอร์ ดมิทรีอาวิช นาฟวิคอฟ (Igor Dmitriyevic

หลักการสอดคล้องโดยตัวเองของนาวิคอฟ (Novikov self-consistency principle) หรือที่เรียกว่าเป็น หลักการคาดคะเนความสอดคล้องโดยตัวเองของนาวิคอฟ (Novikov self-consistency conjecture) เป็นหลักการที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยนักฟิสิกส์ชาวรัสเซียชื่อ อิกอร์ ดมิทรีอาวิช นาฟวิคอฟ (Igor Dmitriyevich Novikov) ในกลางปี ​​1980 เพื่อที่จะแก้ปัญหาของพาราดอกซ์ หรือความขัดแย้งในเรื่องของการเดินทางข้ามเวลา, ซึ่งได้รับอนุญาตในทางทฤษฎีในการแก้ปัญหาบางอย่างของสัมพัทธภาพทั่วไป (การแก้ปัญหาที่ประกอบด้วยสิ่งที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็น เส้นโค้งปิดเสมือนเวลา (closed timelike curve)) หลักการที่อ้างว่าหากมีเหตุการณ์ใด ๆ ก็ตามเกิดขึ้นที่จะก่อให้เกิดปฏิทรรศน์ หรือ พาราดอกซ์ หรือ ความขัดแย้ง หรือเกิด "การเปลี่ยนแปลง" อย่างหนึ่งอย่างใดต่อเหตุการณ์อันเป็นสิ่งที่ผ่านมาแล้วในอดีต, ดังนั้นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์นั้นที่น่าจะสามารถเกิดขึ้นได้จะมีค่าเป็นศูนย์ มันจึงเป็นไปไม่ได้ที่จะสร้างความขัดแย้ง หรือ ปฏิทรรศน์ของเวลา (time paradoxe) ให้เกิดขึ้นได้

ประวัติความเป็นมาของหลักการ แก้

นักฟิสิกส์ทราบกันมานานแล้วว่ามีวิธีการแก้ปัญหาในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปที่ประกอบไปด้วยเส้นโค้งปิดเสมือนเวลา หรือ CTCs—ดูตัวอย่าง เมตริกของเกอเดล (Gödel metric) นาฟวิคอฟกล่าวถึงความเป็นไปได้ของเส้นโค้งปิดเสมือนเวลาหรือ C.T.C.s ในหนังสือที่เขาเขียนในปี 1975 และในปี 1983, [1] เสนอความเห็นว่าเพียงเฉพาะการเดินทางที่สอดคล้องกันกับช่วงเวลาของตัวเองเท่านั้นที่จะได้รับอนุญาตให้มีการย้อนเวลากลับไปในช่วงเวลาในอดีตของตัวเองได้ [2] ในรายงานการวิจัยที่เขียนในปี 1990 โดยนาฟวิคอฟและคนอื่น ๆ อีกหลายคน "ใน ปัญหาคอซี่ (Cauchy problem) ในปริภูมิ-เวลา ที่ประกอบไปด้วยเส้นโค้งปิดของเวลาเสมือน",[3] ได้เขียนเอาไว้ว่า:

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. See note 10 on p. 42 of Friedman et al., "Cauchy problem in space-times with closed timelike curves"
  2. On p. 169 of Novikov's Evolution of the Universe (1983), which was a translation of his Russian book Evolyutsiya Vselennoĭ (1979), Novikov's comment on the issue is rendered by translator M.M Basko as "The close of time curves does not necessarily imply a violation of causality, since the events along such a closed line may be all 'self-adjusted'—they all affect one another through the closed cycle and follow one another in a self-consistent way."
  3. Friedman, John; Michael Morris; Igor Novikov; Fernando Echeverria; Gunnar Klinkhammer; Kip Thorne; Ulvi Yurtsever (1990). "Cauchy problem in spacetimes with closed timelike curves". Physical Review D. 42 (6): 1915. Bibcode:1990PhRvD..42.1915F. doi:10.1103/PhysRevD.42.1915. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-28. สืบค้นเมื่อ 2016-04-21.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

แม่แบบ:Time travel