หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)

(เปลี่ยนทางจาก หลวงสุทธิสารรณกร)

พลเอก หลวงสุทธิสารรณกร นามเดิม สุทธิ เป็นทหารบกและนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ เป็นประธานรัฐสภาคนแรกที่เสียชีวิตขณะดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา

หลวงสุทธิสารรณกร
(สุทธิ สุขะวาที)
ประธานรัฐสภา
ดำรงตำแหน่ง
20 กันยายน พ.ศ. 2500 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500
(0 ปี 85 วัน)
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ก่อนหน้าพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ถัดไปพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ดำรงตำแหน่ง
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2511
(9 ปี 85 วัน)
ก่อนหน้าพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ถัดไปทวี บุณยเกตุ
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ดำรงตำแหน่ง
20 กันยายน พ.ศ. 2500 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500
(0 ปี 85 วัน)
ก่อนหน้าพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ถัดไปพระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)
ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
ดำรงตำแหน่ง
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 – 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2511
(9 ปี 85 วัน)​
ถัดไปทวี บุณยเกตุ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด31 มกราคม พ.ศ. 2444
จังหวัดพระนคร
เสียชีวิต2 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 (67 ปี 76 วัน)
คู่สมรสคุณหญิงทิพย์ สุทธิสารรณกร
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพไทย
ยศ พลเอก
พลเรือเอก
พลอากาศเอก
บังคับบัญชารองผู้บัญชาการทหารสูงสุด

ประวัติ

แก้

พลเอก หลวงสุทธิสารรณกร (ชื่อเดิม สุทธิ สุขะวาที) เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม 2444 ที่ตำบลเสาชิงช้า อำเภอสำราญราษฎร์ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของ หลวงเพราะสำเนียง (ชื่อเดิม ศุข ศุขวาที) และ คุณแม่จีบ สมรส สมรสกับ คุณหญิง ทิพย์ สุทธิสารรณกร

การศึกษา

แก้

สำเร็จการศึกษาโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี 2465

บรรดาศักดิ์

แก้
  • 18 พฤษภาคม 2475 หลวงสุทธิสารรณกร
  • 3 มิถุนายน พ.ศ. 2473 - ขุนสุทธิสารรณกร ถือศักดินา ๖๐๐[1]

ตำแหน่งสำคัญทางทหารและยศ

แก้
  • 1 มกราคม 2503 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุดและรักษาราชการ รองผู้บัญชาการทหารบก
  • 16 กันยายน 2497 รองผู้บัญชาการทหารบก
  • 20 พฤษภาคม 2497 ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก
  • 4 มิถุนายน 2493 เสนาธิการทหารบก
  • 9 ตุลาคม 2491 - รองเสนาธิการทหารบกและรักษาราชการผู้บัญชาการโรงเรียนเสนาธิการทหารบก
  • 14 กุมภาพันธ์ 2491 - เจ้ากรมการรักษาดินแดน
  • 28 มกราคม 2491 - ประจำกรมเสนาธิการทหารบก
  • 1 มกราคม 2489 - ผู้บังคับการมณฑลทหารบกที่ 2[2]
  • 29 พฤษภาคม 2488 ประจำกรมเสนาธิการทหารบก
  • 31 สิงหาคม 2487 ผู้บัญชาการกองพลที่ 4 ตามคำสั่งกรมบัญชาการกองทัพใหญ่
  • 8 เมษายน 2483 เสนาธิการมณฑลทหารบกที่ 4
  • 1 สิงหาคม 2475 ประจำกรมยุทธศึกษาทหารบก
  • 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - ร้อยโท[3]
  • 1 พฤษภาคม 2470 - ประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์
  • 30 ธันวาคม พ.ศ. 2465 - ร้อยตรี[4]
  • 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2465 - ประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ 4

ตำแหน่งนายทหารพิเศษ

แก้
  • 29 พฤศจิกายน 2498 นายทหารพิเศษประจำกรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์
  • 3 พฤษภาคม 2494 ราชองครักษ์พิเศษ
  • 24 พฤศจิกายน 2487 ราชองครักษ์เวร

ตำแหน่งสำคัญทางการเมือง

แก้
  • 10 เมษายน 2495 เป็นกรรมาธิการการทหาร ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2499 พิจารณาร่างพระราชบัญญัติองค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก พ.ศ. 2495
  • 5 กรกฎาคม 2499 เป็นกรรมาธิการการทหาร ถึงวันที่ 16 กันยายน 2500
  • 30 พฤศจิกายน 2494 - 18 กันยายน 2500 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2
  • 20 กันยายน 2500 - 14 ธันวาคม 2500 ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร
  • 18 กันยายน 2500 - 20 ตุลาคม 2501 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2
  • 3 กุมภาพันธ์ 2502 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
  • 6 กุมภาพันธ์ 2502 - 17 เมษายน 2511 ประธานรัฐสภา ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ
  • กุมภาพันธ์ 2502 เป็นมนตรีสหภาพรัฐสภา
  • 19 กุมภาพันธ์ 2502 เป็นกรรมาธิการการทหาร ถึงวันที่ 7 กันยายน 2502 พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ กฎอัยการศึก (ฉบับที่ ..) พ.ศ. 2502
  • 26 สิงหาคม 2502 - 4 กันยายน 2502 เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนหน่วยรัฐสภาไทยไปประชุมสหภาพรัฐสภา ณ กรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์
  • 25 สิงหาคม 2506 เป็นหัวหน้าคณะไปเยือนนิวซีแลนด์ ตามคำเชิญของรัฐบาลนิวซีแลนด์ ณ กรุงเวลลิงตัน ประเทศนิวซีแลนด์
  • 7 กันยายน 17 กันยายน 2508 เป็นหัวหน้าหน่วยรัฐสภาไทย ไปประชุมสหภาพ รัฐสภา ณ กรุงออตตาวา ประเทศแคนาดา
  • 28 พฤศจิกายน – 4 ธันวาคม 2510 เป็นประธานที่ประชุมในการประชุม สหภาพสมาชิกรัฐสภาอาเซีย ครั้งที่ 3 ณ กรุงเทพฯ ซึ่งประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ
  • 28 พฤศจิกายน 2510 เป็นประธานสหภาพสมาชิกรัฐสภาอาเซีย
  • 3 กุมภาพันธ์ 2511 - 17 เมษายน 2511 สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ

ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธานรัฐสภา

แก้
  • 20 กันยายน 2500 - 14 ธันวาคม 2500

ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ

แก้
  • 6 กุมภาพันธ์ 2502 - 2 พฤษภาคม 2511

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

แก้

พลเอก หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของประเทศไทยและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของต่างประเทศต่างๆ ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

แก้

ถึงแก่อสัญกรรม

แก้

พลเอก หลวงสุทธิสารรณกร ถึงแก่อสัญกรรมในขณะดำรงตำแหน่งประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อ 17 เมษายน 2511

อ้างอิง

แก้
  1. พระราชทานบรรดาศักดิ์ (หน้า ๙๕๓)
  2. ประกาศกระทรวงกลาโหม เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ
  3. พระราชทานยศทหารบก (หน้า ๔๑๙)
  4. พระราชทานยศทหารบก (หน้า ๒๘๐๖)
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๔๖ ง หน้า ๑๒๔๙, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๐๕
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๔ ตอนที่ ๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖, ๑๒ มกราคม ๒๕๐๐
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๔ ง หน้า ๒๘๐๘, ๑๔ ธันวาคม ๒๔๙๗
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ เก็บถาวร 2022-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๓๘ ง หน้า ๒๓๒๔, ๑๓ กรกฎาคม ๒๔๘๖
  9. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ[ลิงก์เสีย], เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๐๘๑, ๓๐ กันยายน ๒๔๗๗
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน เก็บถาวร 2022-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๔๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙, ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๐๕
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๒๒๐, ๒๔ กันยายน ๒๔๘๑
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง พระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี เก็บถาวร 2022-07-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๘ ตอนที่ ๘๙ ง หน้า ๒๒๗๗, ๓๑ ตุลาคม ๒๕๐๔
  13. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๙ ตอนที่ ๕๘ ง หน้า ๑๔๗๓, ๒๖ มิถุนายน ๒๕๐๕
  14. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ เก็บถาวร 2022-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๗ ตอนที่ ๑๕ ง หน้า ๕๕๙, ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๓
  15. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม 80 ตอนที่ 41 หน้า 1321, 30 เมษายน 2506