หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (อังกฤษ: United States Virgin Islands; USVI) เป็นกลุ่มเกาะกลุ่มหนึ่งในทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกา ในทางภูมิศาสตร์ หมู่เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเวอร์จินและตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดของภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ

United States Virgin Islands (อังกฤษ)
ธงชาติหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"United in Pride and Hope"
เพลงชาติVirgin Islands March
ที่ตั้งของหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ชาร์ลอตต์อะมาลี
ภาษาราชการภาษาอังกฤษ
การปกครองดินแดนในภาวะพึ่งพิงระบอบประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี
โจ ไบเดิน
• ผู้ว่าการ
เคนเน็ธ แมพพ์
สภานิติบัญญัติสภานิติบัญญัติแห่งหมู่เกาะเวอร์จิน
ดินแดนที่ไม่ได้รวมเข้ากับสหรัฐฯ
• ปรับปรุงรัฐบัญญัติจัดระเบียบองค์กร
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2497
พื้นที่
• รวม
346.36 ตารางกิโลเมตร (133.73 ตารางไมล์) (202)
81.88
ประชากร
• ก.ค. 2550 ประมาณ
108,448 คน (191)
• สำมะโนประชากร 2543
108,612 คน
[convert: %s]%s (34)
สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD)
เขตเวลาUTC−4 (AST)
รหัสโทรศัพท์1-340
โดเมนบนสุด.vi
อ่าวทรังก์ เกาะเซนต์จอห์น

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยเกาะหลัก 3 เกาะ คือ เกาะเซนต์ครอย (Saint Croix) เกาะเซนต์จอห์น (Saint John) และเกาะเซนต์ทอมัส (Saint Thomas) รวมทั้งเกาะวอเตอร์ (Water Island) และหมู่เกาะเล็ก ๆ โดยรอบอีกเป็นจำนวนหนึ่ง ดินแดนแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 346.36 ตารางกิโลเมตร (133.73 ตารางไมล์) จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ. 2543 มีจำนวนประชากร 108,612 คน[1]

เกาะหลัก 3 เกาะมีชื่อเล่นซึ่งมักเรียกกันในหมู่คนท้องถิ่น คือ "ร็อกซิตี" (เซนต์ทอมัส) "เลิฟซิตี" (เซนต์จอห์น) และ "ทวินซิตี" (เซนต์ครอย)[2]

ประวัติศาสตร์ แก้

ภูมิศาสตร์ แก้

การเมือง แก้

เศรษฐกิจ แก้

ประชากรศาสตร์ แก้

เขตการปกครอง แก้

การขนส่ง แก้

การศึกษา แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 2000 Population Counts for the U.S. Virgin Islands, U.S. Census Bureau.
  2. Slawych, Diane. "Love is in the air". CANOE.ca. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-18. สืบค้นเมื่อ 2008-01-25.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

เว็บไซต์ทางการ แก้

ข่าวและสื่อ แก้

18°20′N 64°50′W / 18.333°N 64.833°W / 18.333; -64.833