สโมสรวอลเลย์บอลชายนครราชสีมา

สโมสรวอลเลย์บอลอาชีพในประเทศไทย

สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (หรือ สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา คิวมินซี ตามชื่อผู้สนับสนุน) เป็นสโมสรวอลเลย์บอลในประเทศไทย ในการแข่งขันรายการวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก ในฤดูกาล 2556 คว้าอันดับที่หนึ่งมาครอง ผู้เล่นทีมนครราชสีมาส่วนใหญ่ เป็นผู้เล่นจากโรงเรียนขามทะเลสอวิทยา ของจังหวัดนครราชสีมา[1][2]

นครราชสีมา คิวมินซี วีซี
ชื่อเต็มสโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา คิวมินซี
ชื่อสั้นโคราช
ฉายาแคทเดวิล
ก่อตั้งพ.ศ. 2549
สนามลิปตพัลลภ ฮอลล์
(ความจุ: 3,500 ที่นั่ง)
ประธานวัชรพล โตมรศักดิ์
ผู้จัดการไทย เผด็จศึก วรรณโชติ
หัวหน้าทีมไทย วันชัย ทัพวิเศษ
ลีกวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก
ฤดูกาล 2022-23=ชนะเลิศ
เครื่องแบบ
ทีมเหย้า
ทีมเยือน
ทีมกีฬาของจังหวัดนครราชสีมา
ฟุตบอล
(สวาทแคท)
วอลเลย์บอล (ชาย) ฟุตซอล
ฟุตบอล
(หัวจักรพิฆาต)
วอลเลย์บอล (หญิง)

ชื่อก่อนหน้า แก้

  • พ.ศ. 2549 – 2559 : นครราชสีมา
  • พ.ศ. 2559 – 2564 : นครราชสีมา เดอะมอลล์
  • พ.ศ. 2564 – 2565 : นครราชสีมา คิวมินซี
  • พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน : นครราชสีมา ฮุ่ยหวาง คิวมินซี

เกียรติประวัติและผลงาน แก้

ผลงานในประเทศ แก้

วอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก
วอลเลย์บอลไทยเดนมาร์คซูเปอร์ลีก
  •   ชนะเลิศ (3) : 2016, 2017, 2019
  •   รองชนะเลิศ (1) : 2014
  •   อันดับที่ 3 (1) : 2018

ผลงานระดับนานาชาติ แก้

วอลเลย์บอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย เข้าร่วมแข่งขัน 4 ครั้ง
  • 2015 — อันดับที่ 9
  • 2018 — อันดับที่ 6
  • 2021 — อันดับที่ 4
  • 2022 — อันดับที่ 6

ผลการแข่งขันลีก แก้

ลีก อันดับที่ จำนวนทีม แมตช์ ชนะ แพ้
ไทยแลนด์ลีก ฤดูกาล 2023–24 ชนะเลิศ 8 17 17 0
ฤดูกาล 2022–23 8 17 17 0
ฤดูกาล 2021–22 อันดับที่ 3 8 15 11 4
ฤดูกาล 2020–21 ชนะเลิศ 8 18 16 2
ฤดูกาล 2020 8 19 17 2
ฤดูกาล 2018–19 อันดับ 4 8 16 10 6
ฤดูกาล 2017–18 ชนะเลิศ 8 14 13 1
ฤดูกาล 2016–17 รองชนะเลิศ 8 14 12 2
ฤดูกาล 2015–16 8 14 12 2
ฤดูกาล 2014–15 ชนะเลิศ 8 14 13 1
ฤดูกาล 2013–14 8 14 13 1
ฤดูกาล 2012–13 8 14 13 1
ฤดูกาล 2011–12 อันดับ 4 8 14 9 5
ฤดูกาล 2010–11 รองชนะเลิศ 8 14 10 4
ฤดูกาล 2010 อันดับที่ 3 8 14 10 4
ฤดูกาล 2009 อันดับที่ 7 10 - - -
ฤดูกาล 2008 ชนะเลิศ 10 9 8 1
ฤดูกาล 2007 ไม่มีข้อมูล - - - -
ฤดูกาล 2006 อันดับ 5 8 - - -
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม เลื่อนชั้น ตกชั้น

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน แก้

รายชื่อผู้เล่นฤดูกาล 2023-24 แก้

ข้อมูล ณ เดือนพศจิกายน พ.ศ. 2566

รายชื่อผู้เล่นฤดูกาล 2023-24
หมายเลข ผู้เล่น ตำแหน่ง ส่วนสูง (ม.) วันเกิด ที่มา
3   วันชัย ทัพวิเศษ   ตัวตบหัวเสา 1.85 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986(1986-02-11)
4   อิสลอมจอน โซบิรอฟ ตัวบล็อกกลาง 2.00 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1995(1995-02-07)
7   อซิซเบ็ก คุชโครอฟ ตัวบล็อกกลาง 1.95 16 ธันวาคม ค.ศ. 1999(1999-12-16)
8   จักรกฤษณ์ จันดาหัวดง ตัวตบหัวเสา 1.83 5 ธันวาคม ค.ศ. 1996(1996-12-05)
9   นันทวุฒิ แตงกระโทก ตัวบล็อกกลาง 1.90 4 มีนาคม ค.ศ. 1990(1990-03-04)
10   บุญญฤทธิ์ วงศ์ธร ตัวเซต 1.84 29 มกราคม ค.ศ. 1998(1998-01-29)
12   กิตติพงษ์ สุขศาลา ตัวบล็อกกลาง 2.04 3 ตุลาคม ค.ศ. 1997(1997-10-03)
14   ธนภัทร เจริญสุข ตัวรับอิสระ 1.74 14 เมษายน ค.ศ. 1991(1991-04-14)
16   ฐากร ช่วยมี ตัวบล็อกกลาง 1.89 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1999(1999-11-25)
17   สราญจิต เจริญสุข ตัวเซต 1.80 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1987(1987-07-20)
18   จิรวัฒน์ ทำทอง ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.85 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1998(1998-02-23)
19   ฟารฮาน ฮาลิม ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.93 26 เมษายน ค.ศ. 2001(2001-04-26)
20   นพวิทย์ เหงกระโทก ตัวรับอิสระ 1.71 28 สิงหาคม ค.ศ. 2001(2001-08-28)
21   ธนัสถ์ บำรุงภักดี ตัวตบหัวเสา 1.92 9 สิงหาคม ค.ศ. 2001(2001-08-09)
22   อนุรักษ์ พันธุ์รัมย์ ตัวตบหัวเสา 1.83 23 สิงหาคม ค.ศ. 1999(1999-08-23)
23   จักรพงศ์ ทองกลาง ตัวรับอิสระ 1.73 1 สิงหาคม ค.ศ. 1995(1995-08-01)
24   สัตตยา วะดีศิริศักดิ์ ตัวตบหัวเสา 1.85 25 เมษายน ค.ศ. 2003(2003-04-25)
25   กฤษฎา นิลไสว ตัวบล็อกกลาง 2.02 17 เมษายน ค.ศ. 1992(1992-04-17)

รายชื่อผู้เล่นฤดูกาลก่อนหน้า แก้

โค้ชผู้ฝึกสอน แก้

ผู้เล่นนำเข้า แก้

ฤดูกาล หมายเลข ผู้เล่น ตำแหน่ง ประเทศ รายการที่ร่วมแข่งขัน
ไทยแลนด์ลีก ซูเปอร์ลีก ชิงแชมป์เอเชีย
เลก 1 เลก 2
2015–16 8 ออง ทู ตัวตบหัวเสา   พม่า
2016–17 8 ออง ทู ตัวตบหัวเสา
2017–18 8 ออง ทู ตัวตบหัวเสา
เมียว มิน อู ตัวตบหัวเสา
เปาโล ฌูนีโย ซานโตส ตัวบล็อกกลาง   บราซิล
2018–19 6 พาโบล เฟร์นันโด เซอร์เครา ตัวตบหัวเสา
18 ดักลาส บูเอโน ตัวตบหัวเสา
8 ดีปติ โรเมช ตัวตบหัวเสา   ศรีลังกา
12 รีวัน นูร์มูลกี ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   อินโดนีเซีย
2019–20 4 จานิตา สุรัธ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   ศรีลังกา
8 ไอมัล ขาน ตัวตบหัวเสา   ปากีสถาน
11 GALIH BAYU SAPUTRA ตัวตบหัวเสา   อินโดนีเซีย
2021–22 11 เซียร์เกย์ เรซานอฟ ตัวตบหัวเสา   คาซัคสถาน
4 จานิตา สุรัต ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   ศรีลังกา
7 อซิซเบ็ก คุชโครอฟ ตัวบล็อกกลาง   อุซเบกิสถาน
8 อิสลอมจอน โซบิรอฟ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
2022–23 2 คังกัล ทามิรา ตัวตบหัวเสา   มองโกเลีย
7 อซิซเบ็ก คุชโครอฟ ตัวบล็อกกลาง   อุซเบกิสถาน
2023–24 4 อิสลอมจอน โซบิรอฟ ตัวบล็อกกลาง
7 อซิซเบ็ก คุชโครอฟ ตัวบล็อกกลาง
19 ฟารฮาน ฮาลิม ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   อินโดนีเซีย

อดีตผู้เล่น แก้

อ้างอิง แก้

  1. siamsport. "วอลเลย์บอลไทย: สาว ขอนแก่น เถลิงแชมป์,หนุ่ม โคราช จ่อ,ที่ 3 ชาย-หญิง เบียดลุ้น". สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. smmonline. "ตอบแทนความสำเร็จ!%20โคราชแจกเงินเกือบ3%20ล้านให้นักกีฬาลูกยางลีก%20.html ตอบแทนความสำเร็จ! โคราชแจกเงินเกือบ 3 ล้านให้นักกีฬาลูกยางลีก". สืบค้นเมื่อ 5 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  3. "รายชื่อนักกีฬา-ผู้ฝึกสอนทุกสโมสรในศึกวอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก 2022-23". tnnthailand.com. สืบค้นเมื่อ 20 November 2022.
  4. "ข้อมูลนักกีฬาสโมสรวอลเลย์บอลชายนครราชสีมา 2022-23" (ภาษาอังกฤษ). volleybox.net. สืบค้นเมื่อ 20 November 2022.
  5. "สมาคมลูกยาง เผยชื่อนักตบ 16 สโมสร ลุยศึกไทยแลนด์ลีก 2021-22". smmsport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-12. สืบค้นเมื่อ 15 February 2021.
  6. "VTL 2021 : สรุปการเปลี่ยนแปลงรายชื่อนักตบไทยแลนด์ลีก เลก 2". smmsport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-25. สืบค้นเมื่อ 5 March 2021. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)