สโมสรวอลเลย์บอลขอนแก่นสตาร์

สโมสรวอลเลย์บอลอาชีพในประเทศไทย

สโมสรวอลเลย์บอลขอนแก่นสตาร์ เป็นสโมสรวอลเลย์บอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที จังหวัดขอนแก่น ทำการแข่งขันในรายการวอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก ครั้งแรกในปี 2005 ชนะเลิศแชมป์ไทยแลนด์ลีก 2 สมัย ในฤดูกาล 2007–08 และ 2012–13[1][2][3] และปี 2013 ได้แชมป์ รายการไทย-เดนมาร์ค ซูเปอร์ลีก เป็นครั้งแรก

เคเคยู ขอนแก่นสตาร์ วีซี
ชื่อเต็มสโมสรวอลเลย์บอลมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่นสตาร์ วีซี
ชื่อสั้นขอนแก่นสตาร์
ขอนแก่น
ฉายาไดโนเสาร์พิฆาต
ก่อตั้งพ.ศ. 2549
สนามยิมเนเซี่ยม สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น ประเทศไทย
(ความจุ: 4,000 คน)
ประธานไทย ปานชัย บวรรัตนปราณ
ผู้จัดการไทย ปัญญา พลยุทธ
หัวหน้าทีมไทย ฑิฆัมพร ช้างเขียว
ลีกวอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก
2023-24อันดับที่4
เว็บไซต์โฮมเพจสโมสร
เครื่องแบบ
ทีมเหย้า
ทีมเยือน
ทีมกีฬาของจังหวัดขอนแก่น
ฟุตบอล (ชาย) วอลเลย์บอล (หญิง)
ฟุตบอล (ชาย)

ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เข้ามาให้การสนับสนุน ภายใต้ชื่อว่า สโมสรมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่นสตาร์วีซี หรือ เคเคยู ขอนแก่นสตาร์วีซี (KKU KKS VC) ปัจจุบันมีผู้เล่นทีมชาติได้แก่ แก้วกัลยา กมุลทะลา, โสรยา พรมหล้า และ หทัยรัตน์ จารัตน์ ปัจจุบันมี ฑิฆัมพร ช้างเขียว ทำหน้าที่เป็นกัปตันทีมคนปัจจุบัน[4][5][6][7]

ชื่อก่อนหน้า

แก้
  • พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2554 : ขอนแก่น
  • พ.ศ. 2554 – พ.ศ. 2555 : เอสซีจี ขอนแก่น
  • พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559 : ไอเดีย ขอนแก่น
  • พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2561 : ขอนแก่นสตาร์ วีซี
  • พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2562 : ไทย-เดนมาร์ค ขอนแก่นสตาร์
  • พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2566 : ขอนแก่นสตาร์
  • พ.ศ. 2566 – ปัจจุบัน : มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่นสตาร์ วีซี

เกียรติประวัติและผลงาน

แก้

การแข่งขันในประเทศ

แก้
วอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก


วอลเลย์บอลไทยเดนมาร์คซูเปอร์ลีก
วอลเลย์บอลอะคาเดมีลีก
  •   รองชนะเลิศ (1): 2019
  •   อันดับที่ 3 (1): 2018
วอลเลย์บอลหญิง ถ้วย ก

การแข่งขันระดับนานาชาติ

แก้
ชิงแชมป์สโมสรเอเชีย แข่งขันครั้งแรก
  • 2013 – อันดับที่ 7

สีชุดและผู้ผลิตชุดแข่งขันสโมสร

แก้

วอลเลย์บอลไทยแลนด์ลีก

  •     (2024–2025)
  •     (2023–2024)
  •     (2022–2023)
  •     (2021–2022)
  •     (2005–2021)
  •       (2013–14)
  •     (2014–15)
  •       (2015–16)

วอลเลย์บอลไทยเดนมาร์คซูเปอร์ลีก

  •       (2013)
  •     (2014)
  •     (2015)
  •       (2016)
  •     (2017–2019)

ผู้ผลิตชุด

  • IAM Sportwear (2012–13)
  • EGO SPORT (2013–14)
  • IAM Sportwear (2014–16)
  • Grand Sport (2016–18)
  • Monstar Sport (2018–19)
  • KELA (2019–20)
  • OCEL (2020–21)
  • IAM Sportwear (2021–ปัจจุบัน)

ผลการแข่งขันลีก

แก้
ลีก อันดับที่ จำนวนทีม แมตช์ ชนะ แพ้
ไทยแลนด์ลีก ฤดูกาล 2005–06 อันดับที่ 3 8 14
ฤดูกาล 2006–07 8 14
ฤดูกาล 2007–08 ชนะเลิศ 8 14
ฤดูกาล 2008–09 6 8 14
ฤดูกาล 2009–10 รองชนะเลิศ 8 14 10 4
ฤดูกาล 2010–11 4 8 14
ฤดูกาล 2011–12 5 8 14
ฤดูกาล 2012–13 ชนะเลิศ 8 14 14 0
ฤดูกาล 2013–14 4 8 14 9 5
ฤดูกาล 2014–15 อันดับที่ 3 8 14 9 5
ฤดูกาล 2015–16 4 8 14 9 5
ฤดูกาล 2016–17 5 8 14 7 7
ฤดูกาล 2017–18 4 8 14 8 6
ฤดูกาล 2018–19 4 8 16 9 7
ฤดูกาล 2019–20 รองชนะเลิศ 8 19 13 6
ฤดูกาล 2020–21 5 8 12 5 7
ฤดูกาล 2021–22 4 8 17 6 11
ฤดูกาล 2022–23 อันดับที่ 3 8 17 6 11
ฤดูกาล 2023–24 4 8 17 6 11


รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

7อัปเดตข้อมูล ณ เดือน มกราคม พ.ศ. 2568[8]

รายชื่อผู้เล่นฤดูกาล 2024–2025[9]
หมายเลข ผู้เล่น ตำแหน่ง ส่วนสูง (ม.) วันเกิด
1   อรอนงค์ ไสยศรี ตัวตบหัวเสา 1.75 28 มกราคม ค.ศ. 2001(2001-01-28)
2  ฑิฆัมพร ช้างเขียว   ตัวรับอิสระ 1.63 12 ธันวาคม ค.ศ. 1984(1984-12-12)
4   สุภัชชา คัมตระรักษา ตัวเซต 1.78 28 สิงหาคม ค.ศ. 2002(2002-08-28)
5   โสรยา พรมหล้า ตัวเซต 1.69 6 สิงหาคม ค.ศ. 1992(1992-08-06)
6   ประภัสสร กองอุดม ตัวตบหัวเสา 1.67 20 กรกฎาคม ค.ศ. 2000(2000-07-20)
9   หทัยรัตน์ จารัตน์ ตัวบล็อกกลาง 1.82 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1996(1996-02-09)
10   เสาวภา สู่สุข ตัวตบหัวเสา 1.73 9 มีนาคม ค.ศ. 2002(2002-03-09)
16   ชมพูนุช จิตสบาย ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.75 23 กันยายน ค.ศ. 1999(1999-09-23)
17   กันต์ธิดา พงษ์ใหญ่ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.72 20 สิงหาคม ค.ศ. 2007(2007-08-20)
18   นัชชานันท์ โมรา ตัวบล็อกกลาง 1.72 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001(2001-02-23)
19   อภิญญา ประฏิบัติทอง ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.80 19 มิถุนายน ค.ศ. 1998(1998-06-19)
20   สุทินา พาสังข์ ตัวตบหัวเสา 1.67 28 ตุลาคม ค.ศ. 1999(1999-10-28)
21   พิมพ์ตวรรณ ทองยศ ตัวตบหัวเสา 1.72 30 เมษายน ค.ศ. 2002(2002-04-30)
22   อนงค์พร พรหมรัด ตัวบล็อกกลาง 1.82 2 มีนาคม ค.ศ. 1992(1992-03-02)
23   ณิรารัชย์ ศรีกุตา ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.75 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006(2006-11-23)
24   ภัทราทิพย์ แสนตระกูล ตัวเซต 1.67 17 มิถุนายน ค.ศ. 1996(1996-06-17)
25   กรรณิการ์ ธิปะโชติ ตัวตบหัวเสา 1.68 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1993(1993-05-03)
27   ณัฐวรรณ ผาดไธสง ตัวตบตรงข้ามหัวเสา 1.78 16 เมษายน ค.ศ. 2007(2007-04-16)
28   เยาวพา ปัญญาบุตร ตัวตบหัวเสา 1.69 28 มิถุนายน ค.ศ. 2006(2006-06-28)
29   รวิภา ดวงปา ตัวรับอิสระ 1.60 9 มกราคม ค.ศ. 2008(2008-01-09)
41   แก้วกัลยา กมุลทะลา ตัวบล็อกกลาง 1.78 7 สิงหาคม ค.ศ. 1994(1994-08-07)

เจ้าหน้าที่ทีม

แก้

อัปเดตข้อมูล ณ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2567

ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง
  ปราณชัย บวรรัตนปราณ ประธานสโมสร
  ปัญญา พลยุทธ ผู้จัดการทีม
  อภิรัฐ งามมีฤทธิ์ หัวหน้าผู้ฝึกสอน
  สกล จันทร์แก้ว ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
  ปราการ คุ้มสะดวก ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
  คุณานนท์ ทองทิพย์ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
  ศิริศักดิ์ โลตุรัตน์ นักกายภาพ

ผุ้สนับสนุน

แก้
  • มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • บริษัท โตโยต้าแก่นนคร จำกัด
  • ไอแอม
  • สิงห์ คอร์เปอเรชั่น
  • โรงแรมบายาสิตา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • รอแยล-ดี
  • บริษัท ขอนแก่นพัฒนาเมือง (เคเคทีที) จำกัด
  • ChrispowerTH
  • วิทยุการบินแห่งประเทศไทย
  • AIA

สนามกีฬาและสถานที่ตั้ง

แก้
พิกัด สถานที่ตั้ง สนาม ความจุ ปี
16°24′46″N 102°49′42″E / 16.412763°N 102.828283°E / 16.412763; 102.828283 ขอนแก่น ยิมเนเซี่ยม สนามกีฬากลางจังหวัดขอนแก่น 4,000 ที่นั่ง 2005–ปัจจุบัน
16°23′57″N 102°48′57″E / 16.399275°N 102.815903°E / 16.399275; 102.815903 ขอนแก่น ศูนย์ประชุมแห่งชาติขอนแก่น 10,000 ที่นั่ง 2018–2019

หัวหน้าผู้ฝึกสอน

แก้
  •   บรรจง สมบัติ (2005 – 2013)
  •   อภิชาติ คงสวัสดิ์ (2013 – 2015)
  •   ชำนาญ ดอกไม้ (2015 – 2016)
  •   สุนทร โพธิ์สีตา (2016 – 2019)
  •   อภิรัฐ งามมีฤทธิ์ (2019 – ปัจจุบัน)

กัปตันทีม

แก้

ผู้เล่นนำเข้า

แก้
ฤดูกาล หมายเลข ผู้เล่น ตำแหน่ง ประเทศ รายการที่ร่วมแข่งขัน
ไทยแลนด์ลีก ซูเปอร์ลีก
เลก 1 เลก 2
2013–14 5 โด๋ ถิ มิญ ตัวตบหัวเสา   เวียดนาม
6 เหงียน ธิ คิม เลียน ตัวรับอิสระ
- หลิว เสี่ยว ถง * ตัวตบหัวเสา   จีน
2014–15 20 อีวานา ลูคอวิช ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   เซอร์เบีย
21 เซลิเม อิลยาโซกลู ตัวตบหัวเสา   ตุรกี
2017–18 5 เอลิซานเจลา เปาลินโญ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา   บราซิล
2018–19 5 เทย์นารา เอ็มเมล โรโซ ตัวตบหัวเสา
8 พอลลา อิลิซานดรา ไคลน์ ตัวตบหัวเสา

อดีตผู้เล่น

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. siamsport. "'ไอเดีย ขอนแก่น"แชมป์ซูเปอร์ลีก ปูทางสู่...ไทยแลนด์ลีกฤดูกาลหน้า". สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. siamsport. "ไขแชมป์ "ไอเดีย ขอนแก่น" เบอร์ 1 ลีกไทย เป้าหมายใหญ่ 3-5 ปี ไปชิงแชมป์สโมสรโลก". สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. thairath. "'ไอเดียขอนแก่น' จองแชมป์ศึกลูกยางไทยลีก". สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. Banmuang. ""มข." ยันชัด!จับมือครั้งยิ่งใหญ่ หนุน ทีมวอลเลย์บอลหญิง ภายใต้ชื่อ" ขอนแก่นสตาร์วีซี"". สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  5. khaosod. "ทรูฯคว้าสิทธิ์ยิงสด วอลเลย์บอลลีก 4 ฤดูกาล-สโมสรยิ้มรับทรัพย์ 1.6 ล้านบาท". สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. komchadluek. "กลุ่มทรูคว้าสิทธิ์จัด"ซีพี วอลเลย์บอล ไทยแลนด์ ลีก"4ซีซั่น". สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. smmonline. "จัดหนัก! ขอนแก่น เสริมอดีตผู้เล่น ฮิซามิสึ สปริงส์ ลุยไทยลีก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-28. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "รายชื่อนักตบไทยแลนด์ลีก 2019 เลก 2". smmonline. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-10. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "ทัดดาว-พรพรรณ นำทีม! ผจก.ขอนแก่น เผยไม่เสริมต่างชาติลุยตบไทยลีก". 19 พฤศจิกายน 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-23. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2562. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. smmonline. "เช็คชื่อนักตบ ชาย-หญิง ลุยศึก ไทยแลนด์ลีก 2020 (เลกแรก)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-01-28. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้