สารที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน

สารที่ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีน (อังกฤษ: Protein synthesis inhibitors) เป็นกลุ่มของสารที่หยุดหรือชะลอการเจริญเติบโตหรือการเพิ่มจำนวนของเซลล์ โดยจะออกฤทธิ์รบกวนกระบวนการการสร้างโปรตีนสายใหม่โดยตรง[1]

แผนภาพ: ส่วนที่คล้ายริบบิ้นแสดงถึงสายเอ็มอาร์เอ็นเอที่ทอดผ่านตรงกลางของไรโบโซม โดยมีทีอาร์เอ็นเอเข้ามาจับกำตำแหน่ง A และ P sites เพื่อนำกรดอะมิโนเข้ามาต่อเพื่อสร้างสายอาร์เอ็นเอสายใหม่ ส่วนรูปวงกลมหลากสีที่ต่อกันเป็นสายยาวแสดงถึงสายของโปรตีนที่เกิดขึ้นจากการนำกรดอะมิโนมาต่อกันจากขั้นตอนการแปรรหัสพันธุกรรม ซึ่งเมื่อสิ้นสุดกระบวนการดังกล่าวก็จะเกิดเป็นสายอาร์เอ็นเอสายใหม่
แผนผังจำลองการแปรรหัสพันธุกรรมของเอ็มอาร์เอ็นเอ

ถึงแม้ว่าการตีความตามคำจำกัดความดังข้างต้นทำให้สารกลุ่มนี้ดูเหมือนจะถูกจัดเป็นยาปฏิชีวนะ แต่ในทางปฏิบัติแล้ว สารกลุ่มนี้ยังหมายความรวมไปถึงสารบางชนิดที่ออกฤทธิ์ที่ระดับไรโบโซม ทั้งที่ออกฤทธิ์กับไรโบโซมโดยตรงและออกฤทธิ์รบกวนปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับการแปรรหัสพันธุกรรม (translation factor)[2] ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จากการที่โพรแคริโอตและยูแคริโอตมีโครงสร้างของไรโบโซมที่แตกต่างกัน[3]

กลไก แก้

โดยปกติแล้ว สารที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนนั้นจะออกฤทธิ์ในกระบวนการแปรรหัสพันธุกรรมของเซลล์โพรคาริโอต (Prokaryotic translation) ที่ลำดับขั้นตอนที่แตกต่างกันออกไป เช่น ขั้นเริ่มต้น, ขั้นต่อสาย (รวมถึง ขั้นตอนการเข้าจับของอะมิโนเอซิลทีอาร์เอ็นเอ, การตรวจสอบลำดับของนิวคลีโอไทด์ในสายดีเอ็นเอ (proofreading), การขนส่งหมู่เปปทิดิล, และ การย้ายตำแหน่ง) และขั้นหยุด

ขั้นต้น แก้

ขั้นเริ่มต้น แก้

ขั้นการรวมกันของไรโบโซม แก้

  • นีโอมัยซิน ออกฤทธิ์ขัดขวางขั้นตอนการรวมกันของไรโบโซม (ribosome assembly) โดยจับกับหน่วยย่อย 30 เอสของไรโบโซมของเซลล์โพรคาริโอต[6]

ขั้นตอนการเข้าจับของอะมิโนเอซิลทีอาร์เอ็นเอ แก้

ขั้นการตรวจสอบลำดับของนิวคลีโอไทด์ แก้

ขั้นการขนส่งหมู่เปปทิดิล แก้

การย้ายตำแหน่งของไรโบโซม แก้

ขั้นหยุด แก้

กลไกไม่จำเพาะ แก้

ตำแหน่งออกฤทธิ์ แก้

ยาต่อไปนี้เป็นยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนโดยการเข้าจับกับหน่วยย่อย 30 เอสของไรโบโซม:

ยาต่อไปนี้เป็นยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนโดยการเข้าจับกับหน่วยย่อย 50 เอสของไรโบโซม:

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "Definition: protein synthesis inhibitor from Online Medical Dictionary".
  2. "7.344 Antibiotics, Toxins, and Protein Engineering, Spring 2007". MIT OpenCourseWare.
  3. Berg JM, Tymoczko JL, Stryer L. (2002). Eukaryotic Protein Synthesis Differs from Prokaryotic Protein Synthesis Primarily in Translation Initiation. Biochemistry. Vol. 5th Ed. W H Freeman.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  4. Swaney SM, Aoki H, Ganoza MC, Shinabarger DL (December 1998). "The Oxazolidinone Linezolid Inhibits Initiation of Protein Synthesis in Bacteria". Antimicrob. Agents Chemother. 42 (12): 3251–3255. PMC 106030. PMID 9835522.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  5. Skripkin E, McConnell TS, DeVito J และคณะ (October 2008). "Rχ-01, a New Family of Oxazolidinones That Overcome Ribosome-Based Linezolid Resistance". Antimicrobial Agents and Chemotherapy. 52 (10): 3550–3557. doi:10.1128/AAC.01193-07. PMC 2565890. PMID 18663023.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  6. Mehta, Roopal; Champney, W. Scott (2003). "Neomycin and Paromomycin Inhibit 30S Ribosomal Subunit Assembly in Staphylococcus aureus". Current Microbiology. 47 (3): 237–43. doi:10.1007/s00284-002-3945-9. PMID 14570276.
  7. Slover CM, Rodvold KA, Danziger LH (June 2007). "Tigecycline: a novel broad-spectrum antimicrobial". Ann Pharmacother. 41 (6): 965–972. doi:10.1345/aph.1H543. PMID 17519296. สืบค้นเมื่อ 2009-12-19.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  8. 8.0 8.1 Flavio Guzmán (12 August 2008). "Protein synthesis inhibitors: aminoglycosides mechanism of action animation. Classification of agents". Pharmamotion. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2010. สืบค้นเมื่อ 2018-01-07.
  9. 9.0 9.1 Protein synthesis inhibitors: macrolides mechanism of action animation. Classification of agents เก็บถาวร 2008-12-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Pharmamotion. Author: Gary Kaiser. The Community College of Baltimore County. Retrieved on July 31, 2009
  10. 10.0 10.1 Page 212 in: Title: Hugo and Russell's pharmaceutical microbiology Authors: William Barry Hugo, Stephen P. Denyer, Norman A. Hodges, Sean P. Gorman Edition: 7, illustrated Publisher: Wiley-Blackwell, 2004 ISBN 0-632-06467-6 Length: 481 pages
  11. "Geneticin". Thermo Fisher Scientific.
  12. Wisteria Lane cases --> CLINDAMYCIN เก็บถาวร 2012-07-18 ที่ archive.today University of Michigan. Retrieved on July 31, 2009
  13. Leonard JE, Grothaus CD, Taetle R (October 1988). "Ricin binding and protein synthesis inhibition in human hematopoietic cell lines". Blood. 72 (4): 1357–1363. PMID 3167211.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  14. Terao K, Uchiumi T, Endo Y, Ogata K (June 1988). "Ricin and alpha-sarcin alter the conformation of 60S ribosomal subunits at neighboring but different sites". Eur. J. Biochem. 174 (3): 459–463. doi:10.1111/j.1432-1033.1988.tb14120.x. PMID 3391162.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)[ลิงก์เสีย]
  15. 15.0 15.1 Menninger JR (1995). "Mechanism of inhibition of protein synthesis by macrolide and lincosamide antibiotics". J Basic Clin Physiol Pharmacol. 6 (3–4): 229–250. doi:10.1515/JBCPP.1995.6.3-4.229. PMID 8852269.
  16. 16.0 16.1 Tenson T, Lovmar M, Ehrenberg M (July 2003). "The mechanism of action of macrolides, lincosamides and streptogramin B reveals the nascent peptide exit path in the ribosome". J. Mol. Biol. 330 (5): 1005–1014. doi:10.1016/S0022-2836(03)00662-4. PMID 12860123.{{cite journal}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  17. 17.0 17.1 17.2 17.3 17.4 17.5 17.6 17.7 17.8 Levinson, Warren (2008). Review of medical microbiology and immunology. New York: McGraw-Hill Medical. ISBN 978-0-07-149620-9.
  18. 18.0 18.1 Drugbank.ca > Showing drug card for Retapamulin (DB01256) Update Date: 2009-06-23