สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต

สาธารณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต หรือ สาธารณรัฐสหภาพ (รัสเซีย: союзные республики, soyuznye respubliki, อังกฤษ: Republics of the Soviet Union) ของสหภาพโซเวียตชึ่งแบ่งตามเชื้อชาติ การบริหารจะขึ้นตรงไปยังรัฐบาลของสหภาพโซเวียต[1]ในประวัติศาสตร์ สหภาพโซเวียตเป็นประเทศที่มีรัฐรวมมากเป็นจำนวนมาก; การปฏิรูปการกระจายอำนาจในยุคของเปเรสตรอยคา ("การปรับโครงสร้าง") และกลัสนอสต์ ("การเปิดกว้าง") ดำเนินการของมีฮาอิล กอร์บาชอฟ จนนำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534

สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต
USSR Republics Numbered Alphabetically.png
หมวดหมู่สหพันธรัฐ
ที่ตั้งสหภาพโซเวียต
ก่อตั้งโดยสนธิสัญญาการก่อตั้งสหภาพโซเวียต
ก่อตั้ง30 ธันวาคม พ.ศ. 2465
ยกเลิกโดยการยอมรับความเป็นอิสระของรัฐบอลติก
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
ยกเลิก6 กันยายน พ.ศ. 2534
26 ธันวาคม พ.ศ. 2534
จำนวน15 (ณ พ.ศ. 2532)
สถานะที่เป็นไปได้รัฐบอลติกทางนิตินัยไม่ได้รับการยอมรับจากหลายประเทศ
ประชากร1,565,662 (เอสโตเนีย) – 147,386,000 (สหพันธรัฐรัสเซีย)
พื้นที่29,800 km²(อาร์มีเนีย) – 17,075,400 km²(สหพันธรัฐรัสเซีย)
การปกครองรัฐเดี่ยว ลัทธิมากซ์-เลนิน รัฐพรรคเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม
หน่วยการปกครองสาธารณรัฐปกครองตนเอง, มณฑล, มณฑลปกครองตนเอง

ภาพรวมแก้ไข

 
ธงของสาธารณรัฐโซเวียตในพิพิธภัณฑ์ยุคโซเวียตเลนินใน บิชเคก คีร์กีซสถาน

ตามมาตรา 76 ของรัฐธรรมนูญแห่งสหภาพโซเวียตสาธารณรัฐสหภาพเป็นอธิปไตยรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สหรัฐกับสาธารณรัฐโซเวียตอื่น ๆ ในสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต มาตรา 81 ของรัฐธรรมนูญที่ระบุว่า "สิทธิอธิปไตยของสหภาพโซเวียตจะได้รับการปกป้องโดยสหภาพโซเวียต"[2]

ในช่วงการรวมตัวครั้งสุดท้าย สหภาพโซเวียตประกอบด้วย 15 สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่เป็นทางการซึ่งทั้งหมด (ยกเว้นสาธารณรัฐรัสเซีย) ได้มีบทในการจัดตั้งและบริหารพรรคคอมมิวนิสต์ภายในสหพันธ์สาธารณรัฐและพรรคคอมมิวนิสต์สหภาพโซเวียต

สหพันธ์สาธารณรัฐนอกอาณาเขตสหพันธรัฐรัสเซีย ส่วนใหญ่ถูกประกอบด้วยอยู่ในดินแดนที่เดิมเป็นของจักรวรรดิรัสเซียและได้ถูกซื้อในระหว่างปี พ.ศ. 2243 จากมหาสงครามเหนือและอนุสัญญาแองโกลรัสเซีย พ.ศ. 2450 ถึงแม้สหภาพโซเวียตประกอบด้วย 15 รัฐแต่มีเพียง 11 รัฐที่มีอิสระในการบริหารยกเว้นจอร์เจียกับกลุ่มรัฐบอลติกซึ่งกลุ่มรัฐบอลติกได้รวมเข้ามาในช่วงการยึดครองรัฐบอลติกซึ่งทำให้ในระดับสากลมองว่าเป็นการยึดครองอย่างผิดกฎหมายตลอดระยะเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 - พ.ศ. 2534 [3][4][5]

แต่ละสาธารณรัฐมีที่เป็นเอกลักษณ์เป็นของตัวเองของตราประจำชาติของรัฐ ธง เครื่องอิสริยาภรณ์ แต่มีข้อยกเว้นเพลงชาติสหภาพโซเวียตเป็นเพลงประจำชาติทุกรัฐจนถึงปี พ.ศ. 2533 ทุกรัฐในสหภาพโซเวียตมีสิทธิที่จะได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลนิน

ช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 การเข้ามาควบคุมของมอสโกต่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตได้มีน้อยลงจากเปเรสตรอยคาและกลัสนอสต์ของมีฮาอิล กอร์บาชอฟนำไปการเป็นอิสระมากขึ้นของสาธารณรัฐจนทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลาย

สหภาพสาธารณรัฐในสหภาพโซเวียตแก้ไข

จำนวนสาธารณรัฐสหภาพของสหภาพโซเวียตในแต่ยุคมีจำนวนที่แตกต่างกันตั้งแต่ 4 ถึง 16 แต่ส่วนใหญ่ประกอบด้วย 15 สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต

 
แผนที่สหภาพสาธารณรัฐในปี ค.ศ. 1989
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เมืองหลวง เข้าร่วม ค.ศ. ประชากร
(1989)
ประชากร/USSR pop.
(%)
พื้นที่ (km²)
(1991)
พื้นที่/USSR area
(%)
รัฐเอกราชหลังรัฐเอกราชหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ลำดับที่
  สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย มอสโก 1922 147,386,000 51.40 17,075,400 76.62   รัสเซีย 1
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน เคียฟ
(ฮาร์คอฟ ก่อนปี 1934)
1922 51,706,746 18.03 603,700 2.71   ยูเครน 2
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก ทาชเคนต์
(ซามาร์กันต์ ก่อนปี 1930)
1924 19,906,000 6.94 447,400 2.01   อุซเบกิสถาน 4
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคาซัค อัลมา-อะตา 1936 16,711,900 5.83 2,717,300 12.24   คาซัคสถาน 5
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย มินสค์ 1922 10,151,806 3.54 207,600 0.93   เบลารุส 3
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน บากู 1922 7,037,900 2.45 86,600 0.39   อาเซอร์ไบจาน 7
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย ทบิลีซี 1922 5,400,841 1.88 69,700 0.31   จอร์เจีย 6
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก ดูชานเบ 1929 5,112,000 1.78 143,100 0.64   ทาจิกิสถาน 12
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย คิชิเนฟ
(ชื่อเดิม คีชีเนา)
1940 4,337,600 1.51 33,843 0.15   มอลโดวา 9
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคีร์กีซ บิชเคก
(ชื่อเดิม ฟรุนเซ / ปิชเปค)
1936 4,257,800 1.48 198,500 0.89   คีร์กีซสถาน 11
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียa วิลนีอุส 1940 3,689,779 1.29 65,200 0.29   ลิทัวเนีย 8
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน อาชกาบัต 1924 3,522,700 1.23 488,100 2.19   เติร์กเมนิสถาน 14
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย เยเรวาน 1922 3,287,700 1.15 29,800 0.13   อาร์มีเนีย 13
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียa ริกา 1940 2,666,567 0.93 64,589 0.29   ลัตเวีย 10
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียa ทาลลินน์ 1940 1,565,662 0.55 45,226 0.20   เอสโตเนีย 15

อดีตสหภาพสาธารณรัฐในสหภาพโซเวียตแก้ไข

แผนที่ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เมืองหลวง เข้าร่วม พื้นที่ (km²)
รวมเข้า/แยกออก
    สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคซัส ทบิลิซี 1922–1936 186,100 ได้แยกเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาร์มีเนีย สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย
    สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช เปโตรซาวอดสค์ 1940–1956 172,400 รวมตัวกับ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

สหภาพอื่น ๆ ในสหภาพโซเวียตแก้ไข

แผนที่/ธงประจำรัฐ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต เข้าร่วม หมายเหตุ
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบลารุส (พ.ศ. 2462) พ.ศ. 2462 รวมตัวกับ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียในช่วงสงครามโปแลนด์–โซเวียต ก่อนแยกในปีพ.ศ. 2463
    สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย-เบลารุส พ.ศ. 2462 ผนวกกับ สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย โปแลนด์และลิทัวเนีย (ส่วนที่เป็นเอกร่าชในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตกาลิเซีย พ.ศ. 2463 ผนวกเข้ากับโปแลนด์ ก่อนที่ได้คืนมารวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
  Donetsk-Krivoy Rog Soviet Republic พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตแบล็กซี เป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน-แบล็กซี
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตแบล็กซี พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน เป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน-แบล็กซี
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน-แบล็กซี พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตสตัฟโรปอล และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตกรอซนืย เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตนอร์ทคอเคเซีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตสตัฟโรปอล พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน-แบล็กซี และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตกรอซนืย เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตนอร์ทคอเคเซีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตกรอซนืย พ.ศ. 2461 รวมตัวกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตสตัฟโรปอล และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคูบาน-แบล็กซี เป็นสาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตนอร์ทคอเคเซียน
สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียตนอร์ทคอเคเซียน พ.ศ. 2461 ยกเลิกหลังถูกฝ่ายขาวยึดครองในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซีย
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย (พ.ศ. 2461–2463) พ.ศ. 2461–2463 ได้รับการปลดจากโปแลนด์ ในช่วงสงครามโปแลนด์–โซเวียต
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (พ.ศ. 2461-พ.ศ. 2462) พ.ศ. 2461 รวมตัวกับทางตอนเหนือของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบลารุส เป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย-เบลารุส
    Soviet Republic of Naissaar พ.ศ. 2460–2461 ถูกยึดครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน ก่อนที่จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเอสโตเนีย
  สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตโมกุน พ.ศ. 2462 แยกออกจากสหภาพโซเวียตไปรวมกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาเซอร์ไบจาน
    สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตโอเดสซา พ.ศ. 2461 ผนวกเข้ากับสาธารณรัฐประชาชนยูเครน
  Taurida Soviet Socialist Republic พ.ศ. 2461 แยกออกจากสหภาพโซเวียต ไปเป็นรัฐเอกราชไครเมีย
 สาธารณรัฐประชาชนยูเครนแห่งโซเวียต พ.ศ. 2460–2461 รวมเข้ากับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
   สาธารณรัฐตะวันออกไกล พ.ศ. 2463–2465 รวมเข้ากับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
   สาธารณรัฐประชาชนโคราซม์แห่งโซเวียต พ.ศ. 2463–2468 สลายตัวก่อนจะไปรวมกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน
    สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอับคาเซีย พ.ศ. 2464–2474 กลายเป็น สาธารณรัฐสังคมนิยมปกครองตนเองโซเวียตอับคาเซีย ภายใต้สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย
   สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตบูคารา พ.ศ. 2463–2468 สลายตัวก่อนจะไปรวมกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเติร์กเมน
    สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเปอร์เซีย พ.ศ. 2460–2461 คืนให้กับจักรวรรดิเปอร์เซีย

รัฐโซเวียตที่ยังไม่ก่อตั้งขึ้นแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. Hough, Jerry F (1997). Democratization and revolution in the USSR, 1985-1991. Brookings Institution Press. ISBN 0-8157-3749-1.
  2. Federalism and the Dictatorship of Power in Russia By Mikhail Stoliarov. Taylor & Francis. 2014. p. 56. ISBN 0-415-30153-X. สืบค้นเมื่อ 2014-02-18.
  3. David James Smith, Estonia: independence and European integration, Routledge, 2001, ISBN 0-415-26728-5, pXIX
  4. Parrott, Bruce (1995). "Reversing Soviet Military Occupation". State building and military power in Russia and the new states of Eurasia. M.E. Sharpe. pp. 112–115. ISBN 1-56324-360-1. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)
  5. Van Elsuwege, Peter (April 2004). Russian-speaking minorities in Estonian and Latvia: Problems of integration at the threshold of the European Union (PDF). Flensburg Germany: European Centre for Minority Issues. p. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-23. สืบค้นเมื่อ 2016-11-17. The forcible incorporation of the Baltic states into the Soviet Union in 1940, on the basis of secret protocols to the Molotov-Ribbentrop Pact, is considered to be null and void. Even though the Soviet Union occupied these countries for a period of fifty years, Estonia, Latvia and Lithuania continued to exist as subjects of international law.