สรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

สรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 เป็นรายการของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติจัดอันดับตามจำนวนเหรียญที่ได้รับระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคมถึง 12 สิงหาคม พ.ศ. 2555 มีนักกีฬาประมาณ 10,500 คน คาดว่าจะเข้าร่วมแข่งขัน 302 รายการ ใน 26 ชนิดกีฬา จนถึงการแข่งขันวันที่สิบห้า มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ 82 จากทั้งหมด 204 คณะที่ได้รับอย่างน้อยหนึ่งเหรียญแล้ว 52 คณะได้รับอย่างน้อยหนึ่งเหรียญทอง บาห์เรน[1] บอตซาวานา[2] ไซปรัส[3] กรีเนดา[4] และกัวเตมาลา[5] ได้รับเหรียญในโอลิมปิกเป็นครั้งแรก โดยที่กรีเนดาได้เหรียญทอง

แผนที่โลกแสดงการได้รับเหรียญของแต่ละประเทศระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
สัญลักษณ์:
      สีทอง หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญทอง
      สีเงิน หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญเงิน
      สีบรอนซ์ หมายถึง ประเทศนั้นได้อย่างน้อยหนึ่งเหรียญทองแดง
      สีน้ำเงิน หมายถึง ประเทศนั้นไม่ได้เหรียญเลย
      สีแดง หมายถึง ประเทศนั้นมิได้เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

ตารางสรุปเหรียญ แก้

ด้านล่างนี้เป็นตารางสรุปเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ตามการนับเหรียญของคณะกรรมการโอลิมปิกสากล อันดับเหล่านี้เรียงตามจำนวนเหรียญทองที่คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติได้รับ จำนวนเหรียญเงินจะถูกพิจารณาเป็นลำดับถัดไป และสุดท้ายเป็นจำนวนเหรียญทองแดง หากเท่ากันทั้งเหรียญทอง เงินและทองแดง จะมีการให้อันดับเท่ากันและจะลงรายการตามตัวอักษรตามรหัสประเทศคณะกรรมการโอลิมปิกสากล แม้คณะกรรมการโอลิมปิกสากลจะให้สารสนเทศข้างต้นนี้ แต่คณะกรรมการฯ เองมิได้รับรองหรืออนุมัติระบบจัดอันดับใด ๆ

สัญลักษณ์
      สหราชอาณาจักร (เจ้าภาพ)
      ไทย
2012 Summer Olympics medal table
อันดับที่ NOC ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   สหรัฐ (USA) 46 28 30 104
2   จีน (CHN) 38 31 22 91
3   สหราชอาณาจักร (GBR) 29 17 19 65
4   รัสเซีย (RUS) 20 20 28 68
5   เกาหลีใต้ (KOR) 13 9 8 30
6   เยอรมนี (GER) 11 20 13 44
7   ฝรั่งเศส (FRA) 11 11 13 35
8   ออสเตรเลีย (AUS) 8 15 12 35
9   อิตาลี (ITA) 8 9 11 28
10   ฮังการี (HUN) 8 4 6 18
11   ญี่ปุ่น (JPN) 7 14 17 38
12   อิหร่าน (IRI) 7 5 1 13
13   เนเธอร์แลนด์ (NED) 6 6 8 20
14   นิวซีแลนด์ (NZL) 6 2 5 13
15   ยูเครน (UKR) 5 4 10 19
16   คิวบา (CUB) 5 3 7 15
17   สเปน (ESP) 4 10 5 19
18   จาเมกา (JAM) 4 5 3 12
19   เช็กเกีย (CZE) 4 3 4 11
20   แอฟริกาใต้ (RSA) 4 1 1 6
21   เกาหลีเหนือ (PRK) 4 0 3 7
22   บราซิล (BRA) 3 5 9 17
23   โปแลนด์ (POL) 3 2 6 11
24   เอธิโอเปีย (ETH) 3 2 3 8
25   คาซัคสถาน (KAZ) 3 1 7 11
26   โครเอเชีย (CRO) 3 1 2 6
27   แคนาดา (CAN) 2 5 11 18
28   เบลารุส (BLR) 2 5 3 10
29   เคนยา (KEN) 2 4 7 13
30   เดนมาร์ก (DEN) 2 4 3 9
31   โรมาเนีย (ROU) 2 4 1 7
32   อาเซอร์ไบจาน (AZE) 2 2 5 9
33   สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 2 2 0 4
34   นอร์เวย์ (NOR) 2 1 1 4
35   ลิทัวเนีย (LTU) 2 0 3 5
36   ตูนิเซีย (TUN) 2 0 1 3
37   สวีเดน (SWE) 1 4 3 8
38   โคลอมเบีย (COL) 1 3 5 9
39   เม็กซิโก (MEX) 1 3 4 8
40   จอร์เจีย (GEO) 1 2 3 6
41   ไอร์แลนด์ (IRL) 1 1 4 6
42   อาร์เจนตินา (ARG) 1 1 2 4
  สโลวีเนีย (SLO) 1 1 2 4
  เซอร์เบีย (SRB) 1 1 2 4
  ตรินิแดดและโตเบโก (TRI) 1 1 2 4
46   ตุรกี (TUR) 1 1 1 3
47   สาธารณรัฐโดมินิกัน (DOM) 1 1 0 2
48   จีนไทเป (TPE) 0 1 1 2
  ลัตเวีย (LAT) 1 0 1 2
50   แอลจีเรีย (ALG) 1 0 0 1
  บาฮามาส (BAH) 1 0 0 1
  บาห์เรน (BRN) 1 0 0 1
  กรีเนดา (GRN) 1 0 0 1
  ยูกันดา (UGA) 1 0 0 1
  เวเนซุเอลา (VEN) 1 0 0 1
56   อียิปต์ (EGY) 0 3 1 4
57   อินเดีย (IND) 0 2 4 6
58   มองโกเลีย (MGL) 0 2 3 5
59   ไทย (THA) 0 2 2 4
60   บัลแกเรีย (BUL) 0 2 1 3
  ฟินแลนด์ (FIN) 0 2 1 3
  อินโดนีเซีย (INA) 0 2 1 3
63   สโลวาเกีย (SVK) 0 1 3 4
64   เบลเยียม (BEL) 0 1 2 3
65   อาร์มีเนีย (ARM) 0 1 1 2
  เอสโตเนีย (EST) 0 1 1 2
  มาเลเซีย (MAS) 0 1 1 2
  ปวยร์โตรีโก (PUR) 0 1 1 2
69   บอตสวานา (BOT) 0 1 0 1
  ไซปรัส (CYP) 0 1 0 1
  กาบอง (GAB) 0 1 0 1
  กัวเตมาลา (GUA) 0 1 0 1
  มอนเตเนโกร (MNE) 0 1 0 1
  โปรตุเกส (POR) 0 1 0 1
75   อุซเบกิสถาน (UZB) 0 0 3 3
76   กรีซ (GRE) 0 0 2 2
  กาตาร์ (QAT) 0 0 2 2
  สิงคโปร์ (SIN) 0 0 2 2
79   อัฟกานิสถาน (AFG) 0 0 1 1
  แคเมอรูน (CMR) 0 0 1 1
  ฮ่องกง (HKG) 0 0 1 1
  คูเวต (KUW) 0 0 1 1
  โมร็อกโก (MAR) 0 0 1 1
  ซาอุดีอาระเบีย (KSA) 0 0 1 1
  ทาจิกิสถาน (TJK) 0 0 1 1
  เวียดนาม (VIE) 0 0 1 1
รวม (85 NOC) 302 301 357 960

อ้างอิง แก้

  1. Crouse, Karen (10 August 2012). "Kenyan Reclaims 5,000-Meter Title From Countrywoman and Rival". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 10 August 2012.
  2. "Kenya's Rudisha Storms to Gold in 800 meters". RIA Novosti. 9 August 2012. สืบค้นเมื่อ 9 August 2012.
  3. "Eyes on London: Coe hears final lap bell, UK elated over golds, Cyprus gets first medal". The Washington Post. Associated Press. 5 August 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-11. สืบค้นเมื่อ 6 August 2012.
  4. Fordyce, Tom (6 August 2012). "Grenada's Kirani James wins Olympic 400m gold". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. สืบค้นเมื่อ 9 August 2012.
  5. "Chen wins Olympic 20km walk, history for Guatemala". Eurosport Asia. 4 August 2012. สืบค้นเมื่อ 4 August 2012.
  6. Addley, Esther (30 July 2012). "France's Yannick Agnel wins 200 freestyle – Yahoo! Sports". Yahoo! Sports. Yahoo!. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-02. สืบค้นเมื่อ 30 July 2012.
  7. "Michael Phelps wins 17th Olympic gold medal in 100m butterfly final". The Guardian. Guardian News and Media. 3 August 2012. สืบค้นเมื่อ 9 August 2012.
  8. "Chris Hoy defends keirin title to set British record with 6 Olympic gold medals". The Washington Post. Associated Press. 7 August 2012. สืบค้นเมื่อ 7 August 2012.[ลิงก์เสีย]
  9. Care, Tony (7 August 2012). "Canada's Derek Drouin earns high jump bronze – CBC Sports". CBC Sports. Canadian Broadcasting Corporation. สืบค้นเมื่อ 7 August 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้