สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

จังหวัดเพชรบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเพชรบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายแข ยูนิพันธ์

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านแหลม (ยกเว้นตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่ายางและอำเภอชะอำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านลาด, อำเภอแก่งกระจาน, อำเภอหนองหญ้าปล้อง, อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านแหลม (เฉพาะตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านแหลม (ยกเว้นตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอท่ายางและอำเภอชะอำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านลาด, อำเภอแก่งกระจาน, อำเภอหนองหญ้าปล้อง, อำเภอเขาย้อย และอำเภอบ้านแหลม (เฉพาะตำบลบางตะบูน ตำบลบางตะบูนออก และตำบลบ้านแหลม)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495 แก้

      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายแข ยูนิพันธ์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ร้อยเอก หลวงบำราบประทุษฐ (นิล จุฑานนท์)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายทองพูน อังกินันทน์
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค)
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายเยื่อ พลจันทร์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 พันโท พโยม จุลานนท์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 ขุนวิเทศดรุณการ (ชด มหาขันธ์)

ชุดที่ 8–13; พ.ศ. 2500–2522 แก้

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคอิสระ
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายชาติ วัฒนางกูร นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายผาด อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายเฉลิม ใหญ่กว่าวงษ์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายปิยะ อังกินันทน์ นายอุดม ผาสุก
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายภิมุข อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายปิยะ อังกินันทน์ นายพานิช สัมภวคุปต์

ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539 แก้

      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายภิมุข อังกินันทน์ นายยุทธ อังกินันทน์ นายปิยะ อังกินันทน์
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายอันธีร์ อักษรนันทน์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายปิยะ อังกินันทน์
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายธานี ยี่สาร
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายธานี ยี่สาร นายยุทธ อังกินันทน์ นายอลงกรณ์ พลบุตร
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายธานี ยี่สาร
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายพิเชษฐ์ สถิรชวาล นายปิยะ อังกินันทน์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายอลงกรณ์ พลบุตร
2 นายธานี ยี่สาร
3 นายอภิชาติ สุภาแพ่ง

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายอลงกรณ์ พลบุตร
นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
นายกัมพล สุภาแพ่ง

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายอรรถพร พลบุตร นายกัมพล สุภาแพ่ง นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายกฤษณ์ แก้วอยู่
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายสาธิต อุ๋ยตระกูล
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายสุชาติ อุสาหะ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นางธิวัลรัตน์ อังกินันทน์ นายฤกษ์ อยู่ดี จ่าอากาศเอก อภิชาติ แก้วโกศล

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้