สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

จังหวัดเชียงใหม่ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 10 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 10 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดเชียงใหม่
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต10
คะแนนเสียง404,011 (ก้าวไกล)
318,046 (เพื่อไทย)
103,590 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (7)
เพื่อไทย (2)
พลังประชารัฐ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเชียงใหม่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย) และ พระพินิจธนากร (บุญเพ็ง ยุกตะนันทน์)[2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสารภี, อำเภอสันกำแพง, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอสะเมิง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหางดง, อำเภอบ้านแม, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด และอำเภอช่างเคิ่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสันมหาพน, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว และอำเภอฝาง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสารภี, อำเภอสันกำแพง และอำเภอดอยสะเก็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านแม, อำเภอจอมทอง และอำเภอฮอด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสันมหาพน, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว และอำเภอฝาง
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสารภี, อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง และอำเภอฮอด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสันกำแพง, อำเภอดอยสะเก็ด, อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว และอำเภอฝาง
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2500/1 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 6 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสันทราย, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอแม่ริม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหางดง, อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย และกิ่งอำเภอดอยเต่า
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอหางดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย และกิ่งอำเภอดอยเต่า
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอหางดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย และกิ่งอำเภอเวียงแหง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย และอำเภอดอยเต่า
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอดอยสะเก็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย และกิ่งอำเภอเวียงแหง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย และอำเภอดอยเต่า
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอดอยสะเก็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, กิ่งอำเภอเวียงแหง และกิ่งอำเภอไชยปราการ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย และอำเภอดอยเต่า
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอดอยสะเก็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ริม, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, กิ่งอำเภอเวียงแหง และกิ่งอำเภอไชยปราการ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า และกิ่งอำเภอแม่วาง
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และกิ่งอำเภอแม่ออน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า, กิ่งอำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ริม, อำเภอแม่แตง, อำเภอพร้าว และอำเภอสันทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียงดาว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, อำเภอไชยปราการ และอำเภอเวียงแหง
10 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 และเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และกิ่งอำเภอแม่ออน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า, อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ริม, อำเภอแม่แตง, อำเภอพร้าว และอำเภอสันทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเชียงดาว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, อำเภอไชยปราการ และอำเภอเวียงแหง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลช้างเผือก ตำบลสุเทพ ตำบลศรีภูมิ ตำบลป่าตัน ตำบลช้างม่อย ตำบลพระสิงห์ ตำบลช้างคลาน ตำบลหายยา และตำบลแม่เหียะ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลวัดเกต ตำบลหนองป่าครั่ง ตำบลท่าศาลา ตำบลหนองหอย ตำบลป่าแดด และตำบลฟ้าฮ่าม) และอำเภอสารภี
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลสันผีเสื้อ), อำเภอแม่ริม และอำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระ), อำเภอพร้าว และอำเภอสันทราย
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดอยสะเก็ด, อำเภอสันกำแพงและกิ่งอำเภอแม่ออน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอหางดง และอำเภอสะเมิง (เฉพาะตำบลสะเมิงใต้และตำบลสะเมิงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอสะเมิง (ยกเว้นตำบลสะเมิงใต้และตำบลสะเมิงเหนือ), อำเภอแม่แจ่ม (เฉพาะตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด และตำบลแม่นาจร), อำเภอจอมทอง, อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอแม่แจ่ม (ยกเว้นตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด และตำบลแม่นาจร), อำเภอฮอด, อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอไชยปราการ, อำเภอเวียงแหง, อำเภอเชียงดาว และอำเภอฝาง (เฉพาะตำบลแม่ข่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอแม่อายและอำเภอฝาง (ยกเว้นตำบลแม่ข่า)
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (ยกเว้นตำบลท่าศาลา ตำบลป่าแดด ตำบลวัดเกต ตำบลหนองหอย ตำบลสันผีเสื้อ ตำบลหนองป่าครั่ง และตำบลฟ้าฮ่าม)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสารภี, อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลท่าศาลา ตำบลป่าแดด ตำบลวัดเกต และตำบลหนองหอย) และอำเภอหางดง (เฉพาะตำบลขุนคงและตำบลหารแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ริม (ยกเว้นตำบลเหมืองแก้ว) และอำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระและตำบลบ้านเป้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสันทราย, อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลสันผีเสื้อ ตำบลหนองป่าครั่ง และตำบลฟ้าฮ่าม), อำเภอดอยสะเก็ด (เฉพาะตำบลสำราญราษฎร์และตำบลสันปูเลย) และอำเภอแม่ริม (เฉพาะตำบลเหมืองแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสันกำแพง, อำเภอดอยสะเก็ด (ยกเว้นตำบลสำราญราษฎร์และตำบลสันปูเลย) และกิ่งอำเภอแม่ออน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอสะเมิง (ยกเว้นตำบลบ่อแก้ว) และอำเภอหางดง (ยกเว้นตำบลขุนคงและตำบลหารแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่วาง, อำเภอจอมทอง, อำเภอแม่แจ่ม (เฉพาะตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด ตำบลแม่นาจร และตำบลช่างเคิ่ง), อำเภอสะเมิง (เฉพาะตำบลบ่อแก้ว) และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า, อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม (ยกเว้นตำบลบ้านจันทร์ ตำบลแจ่มหลวง ตำบลแม่แดด ตำบลแม่นาจร และตำบลช่างเคิ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอเวียงแหง, อำเภอเชียงดาว และอำเภอไชยปราการ (เฉพาะตำบลปงตำและตำบลหนองบัว)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอแม่อายและอำเภอฝาง (เฉพาะตำบลตำบลแม่สูน ตำบลเวียง และตำบลสันทราย)
· เขตเลือกตั้งที่ 11 : อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง (ยกเว้นตำบลตำบลแม่สูน ตำบลเวียง และตำบลสันทราย), อำเภอไชยปราการ (เฉพาะตำบลศรีดงเย็นและตำบลแม่ทะลบ) และอำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระและตำบลบ้านเป้า)
11 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี และอำเภอหางดง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพร้าว, อำเภอแม่ออน, อำเภอดอยสะเก็ด, อำเภอสันทราย, อำเภอแม่ริม, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่วาง และอำเภอสันป่าตอง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่อาย, อำเภอฝาง, อำเภอไชยปราการ, อำเภอเชียงดาว, อำเภอเวียงแหง และอำเภอแม่แตง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอจอมทอง, อำเภอดอยหล่อ, อำเภอฮอด, อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย
11 คน (เขต 1–3 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1  : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลช้างเผือก ตำบลแม่เหียะ ตำบลสุเทพ ตำบลศรีภูมิ ตำบลช้างม่อย ตำบลพระสิงห์ ตำบลป่าตัน ตำบลหายยา และตำบลช้างคลาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2  : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลวัดเกต ตำบลฟ้าฮ่าม ตำบลหนองหอย ตำบลท่าศาลา ตำบลหนองป่าครั่ง และตำบลป่าแดด) และอำเภอสารภี
· เขตเลือกตั้งที่ 3  : อำเภอดอยสะเก็ด, อำเภอสันกำแพง และอำเภอแม่ออน
· เขตเลือกตั้งที่ 4  : อำเภอสันทราย, อำเภอพร้าว และอำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5  : อำเภอแม่อาย และอำเภอฝาง (ยกเว้นตำบลแม่ข่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 6  : อำเภอเชียงดาว, อำเภอเวียงแหง, อำเภอไชยปราการ และอำเภอฝาง (เฉพาะตำบลแม่ข่า)
· เขตเลือกตั้งที่ 7  : อำเภอแม่ริม, อำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระ) และอำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลสันผีเสื้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8  : อำเภอหางดง, อำเภอสันป่าตอง และอำเภอสะเมิง (เฉพาะตำบลสะเมิงใต้และตำบลสะเมิงเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 9  : อำเภอแม่วาง, อำเภอจอมทอง, อำเภอดอยหล่อ, อำเภอกัลยาณิวัฒนา, อำเภอแม่แจ่ม (เฉพาะตำบลแม่นาจร) และอำเภอสะเมิง (เฉพาะตำบลยั้งเมิน ตำบลแม่สาบ และตำบลบ่อแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภอแม่แจ่ม (ยกเว้นตำบลแม่นาจร), อำเภอฮอด, อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย
10 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1  : อำเภอเมืองเชียงใหม่
· เขตเลือกตั้งที่ 2  : อำเภอหางดงและอำเภอสารภี
· เขตเลือกตั้งที่ 3  : อำเภอสันกำแพง, อำเภอแม่ออน และอำเภอดอยสะเก็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 4  : อำเภอสันทราย, อำเภอพร้าว และอำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5  : อำเภอกัลยาณิวัฒนา, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่ริม และอำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6  : อำเภอเชียงดาว, อำเภอเวียงแหง และอำเภอไชยปราการ
· เขตเลือกตั้งที่ 7  : อำเภอฝางและอำเภอแม่อาย
· เขตเลือกตั้งที่ 8  : อำเภอสันป่าตอง, อำเภอแม่วาง, อำเภอดอยหล่อ และอำเภอจอมทอง
· เขตเลือกตั้งที่ 9  : อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอฮอด, อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย
  9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงใหม่ (ยกเว้นตำบลหนองหอย ตำบลวัดเกต ตำบลหนองป่าครั่ง และตำบลท่าศาลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสารภี, อำเภอเมืองเชียงใหม่ (เฉพาะตำบลหนองหอย ตำบลวัดเกต ตำบลหนองป่าครั่ง และตำบลท่าศาลา) และอำเภอสันกำแพง (เฉพาะตำบลสันกลาง ตำบลบวกค้าง และตำบลแช่ช้าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ออน, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอสันกำแพง (ยกเว้นตำบลสันกลาง ตำบลบวกค้าง และตำบลแช่ช้าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอสันทรายและอำเภอแม่ริม (เฉพาะตำบลเหมืองแก้ว ตำบลแม่สา และตำบลดอนแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกัลยาณิวัฒนา, อำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง และอำเภอแม่ริม (ยกเว้นตำบลเหมืองแก้ว ตำบลแม่สา และตำบลดอนแก้ว)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเวียงแหง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว และอำเภอไชยปราการ (เฉพาะตำบลศรีดงเย็นและตำบลหนองบัว)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่อาย, อำเภอฝาง และอำเภอไชยปราการ (เฉพาะตำบลแม่ทะลบและตำบลปงตำ)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอหางดงและอำเภอสันป่าตอง
· เขตเลือกตั้งที่ 9 : อำเภอดอยหล่อ, อำเภอจอมทอง, อำเภอแม่วาง และอำเภอแม่แจ่ม (เฉพาะตำบลแม่นาจร ตำบลแม่ศึก และตำบลช่างเคิ่ง)
· เขตเลือกตั้งที่ 10 : อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า, อำเภอฮอด และอำเภอแม่แจ่ม (ยกเว้นตำบลแม่นาจร ตำบลแม่ศึก และตำบลช่างเคิ่ง)
  10 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

แก้
ลำดับ ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
1 หลวงศรีประกาศ (ฉันท์ วิชยาภัย)
2 พระพินิจธนากร (บุญเพ็ง ยุกตะนันทน์)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
      พรรคสหชีพ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 พระศรีวรานุรักษ์ (ศรี บุญเฉลียว) นายภิญโญ อินทวิวัฒน์ นายทองอินทร์ ปัณฑรานนท์
นายสุมินทร์ อุปโยคิน
(เสียชีวิต)
นายทองดี อิสราชีวิน
(แทน สุมินทร์)
2 นายอินทร สิงหเนตร นายอินทร สิงหเนตร (พ้นจากตำแหน่ง)
นายสี่หมื่น วณีสอน (แทน)*
นายอินทร สิงหเนตร นายสรชัย จันทรปัญญา
3 นายสุวิชช พันธเศรษฐ นายสุวิชช พันธเศรษฐ
  • นายอินทร สิงหเนตร ถูกสภาวินิจฉัยให้พ้นสมาชิกภาพตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2482
  • นายสุมินทร์ อุปโยคิน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2490

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

แก้
ลำดับ พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2492
(เลือกตั้งเพิ่มเติม)
1 นายทองดี อิสราชีวิน
2 เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่
3 นายสุกิจ นิมมานเหมินท์
4 นายทองย้อย กลิ่นทอง
  • การเลือกตั้ง พ.ศ. 2492 เป็นการเลือกตั้งเพิ่มเติมตามจำนวนราษฎรที่เพิ่มขึ้น

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

แก้
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
นายพิรุณ อินทราวุธ
นายสงวน ศิริสว่าง
เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่
นายเมธ รัตนประสิทธิ์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500[4] ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายวรศักดิ์ นิมานันท์
นายทองดี อิสราชีวิน
ร้อยโท ราศรี สิงหเนตร เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่
นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ นายสุกิจ นิมมานเหมินท์
พลโท ประยูร ภมรมนตรี นายไกรสร ตันติพงศ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคอิสระ
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายไกรสร ตันติพงศ์
2 นายทองดี อิสราชีวิน
3 นายบุญเลิศ ชินวัตร
4 นายปรีดา พัฒนถาบุตร
5 นายวรศักดิ์ นิมานันท์
6 เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคไท (พ.ศ. 2517)
      พรรคสันติชน
      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายทองดี อิสราชีวิน
(เสียชีวิต)
นายชัชวาล ชุติมา
นายอินทร์สม ไชยซาววงศ์
(แทนนายทองดี)[5]
นายธวัชชัย นามวงศ์พรหม นายสุรพันธ์ ชินวัตร
นายปรีดา พัฒนถาบุตร นายปรีดา พัฒนถาบุตร
2 นายไกรสร ตันติพงศ์
นายอารีย์ วีระพันธุ์
3 นายส่งสุข ภัคเกษม
นายอินสอน บัวเขียว นางผณินทรา ภัคเกษม

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทย
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 พันตำรวจเอกธานี วีรเดชะ นายสุบิน ปิ่นขยัน
นายปรีดา พัฒนถาบุตร
นายสุรพันธ์ ชินวัตร
2 นายมอนอินทร์ รินคำ นายมานะ แพรสกุล
นายเจริญ เชาวน์ประยูร
นายไกรสร ตันติพงศ์
3 นายอำนวย ยศสุข
พลตำรวจตรี สง่า กิตติขจร นายสยม รามสูต

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายสุบิน ปิ่นขยัน นายณรงค์ นิยมไทย
นายจำรูญ ไชยลังการณ์ นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
นายสุรพันธ์ ชินวัตร นายปรีชา ผ่องเจริญกุล นายวิชัย วงศ์ไชย
2 นายเจริญ เชาวน์ประยูร นายเจริญ เชาวน์ประยูร นายเจริญ เชาวน์ประยูร นายเจริญ เชาวน์ประยูร
นายมานะ แพรสกุล นายมานะ แพรสกุล จ่าสิบตำรวจ อุดม วรวัลย์ นายมอนอินทร์ รินคำ
นายไกรสร ตันติพงศ์ นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์
3 นายอำนวย ยศสุข นายอำนวย ยศสุข นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
นายส่งสุข ภัคเกษม นายวารินทร์ ลิ้มศักดากุล นายส่งสุข ภัคเกษม นายส่งสุข ภัคเกษม
นายชาญชัย ไพรัชกุล นายสยม รามสูต นายสุรพล เกียรติไชยากร นายสุรพล เกียรติไชยากร

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

แก้
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคพลังธรรม
      พรรคชาติไทย
      พรรคนำไทย
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคเอกภาพ
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่
นายวิชัย วงศ์ไชย นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
นายสุรพันธ์ ชินวัตร นางชรินรัตน์ พุทธปวน
2 นายอำนวย ยศสุข นายอำนวย ยศสุข
นายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
นายสุรพล เกียรติไชยากร นายณรงค์ ภูอิทธิวงศ์
3 นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์
นางกิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่
4 นายทวีศักดิ์ สุภาศรี
นายมานะ แพรสกุล นายสันติ ตันสุหัช

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21[6] พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22[7] พ.ศ. 2548
1 นายปกรณ์ บูรณุปกรณ์
2 นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์ นายพายัพ ชินวัตร
3 นายบุญทรง เตริยาภิรมย์
4 นายวิทยา ทรงคำ
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายวิทยา ทรงคำ
5 นายพรชัย อรรถปรียางกูร
6 นายนพคุณ รัฐผไท
7 นายสุรพล เกียรติไชยากร
8 นางผณินทรา ภัคเกษม
9 นายยงยุทธ สุวภาพ นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
10 นายสันติ ตันสุหัช

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
      พรรครวมชาติพัฒนา
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
เขต ชุดที่ 23[8] พ.ศ. 2550
1 นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์
นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
นายกฤษดาภรณ์ เสียมภักดี
2 นายบุญทรง เตริยาภิรมย์
นายวิทยา ทรงคำ
นายนพคุณ รัฐผไท
3 นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
นายไกร ดาบธรรม
นายประสิทธิ์ วุฒินันชัย
4 นายนรพล ตันติมนตรี
นายสุรพล เกียรติไชยากร

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคภูมิใจไทย
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
      พรรคพลังประชารัฐ
เขต ชุดที่ 24[9] พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นางสาวทัศนีย์ บูรณุปกรณ์ นางสาวเพชรรัตน์ ใหม่ชมภู
2 นายกฤษดาภรณ์ เสียมภักดี นายนพคุณ รัฐผไท นางสาวการณิก จันทดา
3 นางสาวชินณิชา วงศ์สวัสดิ์
(พ้นจากตำแหน่งด้วยคำวินิจฉัยของศาลฎีกา)
นายจักรพล ตั้งสุทธิธรรม นายณัฐพล โตวิจักษณ์ชัยกุล
นายเกษม นิมมลรัตน์
(แทนนางสาวชินณิชา / ลาออก)[10]
นางเยาวภา วงศ์สวัสดิ์
(แทนนายเกษม)
4 นายวิทยา ทรงคำ นางสาวพุธิตา ชัยอนันต์
5 นายประสิทธิ์ วุฒินันชัย นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์
6 นายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ ว่าที่ร้อยตรีหญิง อรพรรณ จันตาเรือง
7 นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ นายประสิทธิ์ วุฒินันชัย นายสมดุลย์ อุตเจริญ
8 นายนพคุณ รัฐผไท นายสุรพล เกียรติไชยากร   นายภัทรพงษ์ ลีลาภัทร์
นางสาวศรีนวล บุญลือ
(แทนนายสุรพล)
9 นายสุรพล เกียรติไชยากร นายศรีเรศ โกฎคำลือ นายนเรศ ธำรงค์ทิพยคุณ
10 นายศรีเรศ โกฎคำลือ ยุบเขต 10 นางสาวศรีโสภา โกฏคำลือ

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
  4. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไป
  5. พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขตเลือกตั้งที่ ๑ ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๑๘
  6. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  7. รัฐสภาไทย,ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  8. รัฐสภาไทย,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  9. ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตการเลือกตั้ง จังหวัดเชียงใหม่ เก็บถาวร 2016-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สืบค้นวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554
  10. "เพื่อไทย" เผย "เกษม นิมมลรัตน์" ลาออกเพราะมีปัญหาสุขภาพ พร้อมปัดข่าววาง "เจ๊แดง" เป็น นายกฯ สำรอง[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้