สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุทัยธานี

จังหวัดอุทัยธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดอุทัยธานี
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต2
คะแนนเสียง93,030 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (2)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอุทัยธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเทียบ นันทแพทศย์ [2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุทัยธานี, อำเภอหนองขาหย่าง, อำเภอทัพทัน, อำเภอสว่างอารมณ์ และอำเภอหนองฉาง (ยกเว้นตำบลเขาบางแกรก ตำบลเขากวางทอง และตำบลทุ่งโพ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลานสัก, อำเภอห้วยคต, อำเภอบ้านไร่ และอำเภอหนองฉาง (เฉพาะตำบลเขาบางแกรก ตำบลเขากวางทอง และตำบลทุ่งโพ)
  2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอุทัยธานี, อำเภอหนองขาหย่าง, อำเภอทัพทัน, อำเภอสว่างอารมณ์ และอำเภอหนองฉาง (ยกเว้นตำบลเขาบางแกรก ตำบลเขากวางทอง และตำบลทุ่งโพ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอลานสัก, อำเภอห้วยคต, อำเภอบ้านไร่ และอำเภอหนองฉาง (เฉพาะตำบลเขาบางแกรก ตำบลเขากวางทอง และตำบลทุ่งโพ)
  2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

แก้
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 นายเทียบ นันทแพทศย์
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายพร มากวงศ์
สิงหาคม พ.ศ. 2489 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 พันตำรวจตรี หลวงเจริญตำรวจการ
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 พันตำรวจตรี หลวงเจริญตำรวจการ

ชุดที่ 8–12; พ.ศ. 2500–2519

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคชาติไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 นายทวาย เศรษฐพานิช
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายศิลป์ พิลึกฤๅเดช
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายศิริ ทุ่งทอง
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายศิริ ทุ่งทอง
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายศิลป์ชัย นุ้ยปรี

ชุดที่ 13–20; พ.ศ. 2522–2539

แก้
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคเสรีธรรม
      พรรคชาติไทย
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคปวงชนชาวไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 พันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ นายศิริ ทุ่งทอง
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 พันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ นางสุทิน ก๊กศรี
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 พันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ นายตามใจ ขำภโต
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายไพโรจน์ ทุ่งทอง
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 พันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์ นายศิลป์ชัย นุ้ยปรี
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายประเสริฐ มงคลศิริ
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 พันเอก พล เริงประเสริฐวิทย์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายประเสริฐ มงคลศิริ นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ  นายประแสง มงคลศิริ  
นายประแสง มงคลศิริ (แทนนายธีรพันธ์) นายธีรพันธ์ วีระยุทธวัฒนะ (แทนนายประแสง)
2 นายนพดล พลเสน

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายชาดา ไทยเศรษฐ์
นายนพดล พลเสน
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายอดุลย์ เหลืองบริบูรณ์
(แทนนายนพดล)

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคภูมิใจไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายกุลเดช พัวพัฒนกุล นายชาดา ไทยเศรษฐ์
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายเจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ นายชาดา ไทยเศรษฐ์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้