สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์

จังหวัดสุรินทร์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 8 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสุรินทร์
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต8
คะแนนเสียง245,252 (ภูมิใจไทย)
233,888 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งภูมิใจไทย (5)
เพื่อไทย (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุรินทร์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนรักษ์รัษฎากร (จวบ ไมยรัตน์)

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1: ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอศีขรภูมิ และอำเภอสังขะ
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี และอำเภอรัตนบุรี
2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ และอำเภอปราสาท
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอท่าตูมและอำเภอรัตนบุรี
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1: ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 5 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอจอมพระ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท และอำเภอสังขะ
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2519 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอจอมพระ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอสังขะ และกิ่งอำเภอกาบเชิง
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอจอมพระ, กิ่งอำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอบัวเชด
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี และอำเภอสนม
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอจอมพระ, อำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอบัวเชด
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี และอำเภอสนม
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง และกิ่งอำเภอลำดวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ และอำเภอบัวเชด
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง และอำเภอลำดวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอสังขะ และอำเภอบัวเชด
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอศีขรภูมิ และอำเภอลำดวน
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง, อำเภอสังขะ, อำเภอบัวเชด, กิ่งอำเภอศรีณรงค์ และกิ่งอำเภอพนมดงรัก
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอลำดวน และกิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ และอำเภอสนม
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง, อำเภอสังขะ, อำเภอบัวเชด, กิ่งอำเภอศรีณรงค์ และกิ่งอำเภอพนมดงรัก
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์ (ยกเว้นตำบลแสลงพันธ์ ตำบลเฉนียง ตำบลนาบัว ตำบลบุฤๅษี ตำบลราม ตำบลเมืองที ตำบลแทนมีย์ ตำบลสำโรง ตำบลตาอ็อง และตำบลสลักได)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลแสลงพันธ์ ตำบลเฉนียง ตำบลนาบัว ตำบลบุฤๅษี ตำบลราม ตำบลเมืองที ตำบลเทนมีย์ ตำบลสำโรง ตาบลตาอ็อง และตำบลสลักได), อำเภอลำดวน (ยกเว้นตำบลตระเปียงเตียและตำบลโชคเหนือ) และอำเภอเขวาสินรินทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอศีขรภูมิและอำเภอลำดวน (เฉพาะตำบลตระเปียงเตียและตำบลโชคเหนือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอสังขะ (ยกเว้นตำบลตาตุมและตำบลเทพรักษา), อำเภอศรีณรงค์ และอำเภอกาบเชิง (เฉพาะตำบลคูตัน)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอกาบเชิง (ยกเว้นตำบลคูตัน), อำเภอบัวเชด, อำเภอสังขะ (เฉพาะตำบลตาตุมและตำบลเทพรักษา) และกิ่งอำเภอพนมดงรัก
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอปราสาท
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอจอมพระ, อำเภอสนม (ยกเว้นตำบลแคนและตำบลโพนโก), อำเภอสำโรงทาบ (ยกเว้นตำบลกระออม) และอำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลบัวโคก)
· เขตเลือกตั้งที่ 8: อำเภอชุมพลบุรีและอำเภอท่าตูม (ยกเว้นตำบลบัวโคก)
· เขตเลือกตั้งที่ 9: อำเภอรัตนบุรี, อำเภอสนม (เฉพาะตำบลแคนและตำบลโพนโก), อำเภอสำโรงทาบ (เฉพาะตำบลกระออม) และกิ่งอำเภอโนนนารายณ์
9 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอศีขรภูมิ, อำเภอลำดวน และอำเภอเขวาสินรินทร์
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอจอมพระ, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอสำโรงทาบ, อำเภอสนม และอำเภอโนนนารายณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอปราสาท, อำเภอกาบเชิง, อำเภอสังขะ, อำเภอบัวเชด, อำเภอศรีณรงค์ และอำเภอพนมดงรัก
9 คน (3 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์ (ยกเว้นตำบลในเมือง ตำบลคอโค ตำบลท่าสว่าง ตำบลเพี้ยราม ตำบลกาเกาะ ตำบลตั้งใจ ตำบลนาดี ตำบลแกใหญ่ และตำบลแสลงพันธ์) และอำเภอปราสาท (เฉพาะตำบลเชื้อเพลิง ตำบลทมอ และตำบลโคกยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลคอโค ตำบลท่าสว่าง ตำบลเพี้ยราม ตำบลกาเกาะ ตำบลตั้งใจ ตำบลนาดี ตำบลแกใหญ่ และตำบลแสลงพันธ์), อำเภอเขวาสินรินทร์ และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลแตลและตำบลช่างปี่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม และอำเภอรัตนบุรี (เฉพาะตำบลกุดขาคีม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอรัตนบุรี (ยกเว้นตำบลกุดขาคีม), อำเภอสนม, อำเภอโนนนารายณ์ และอำเภอสำโรงทาบ (เฉพาะตำบลกระออม)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอจอมพระ, อำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลหนองบัว ตำบลคาละแมะ ตำบลเขวาใหญ่ ตำบลตรึม ตำบลหนองขวาว ตำบลนารุ่ง ตำบลยาง และตำบลกุดหวาย) และอำเภอสำโรงทาบ (ยกเว้นตำบลกระออม)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลระแงง ตำบลผักไหม ตำบลจารพัต ตำบลตรมไพร และตำบลหนองเหล็ก), อำเภอลำดวน, อำเภอศรีณรงค์ และอำเภอสังขะ (เฉพาะตำบลทับทัน ตำบลขอนแตก ตำบลพระแก้ว และตำบลตาคง)
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอบัวเชด, อำเภอสังขะ (ยกเว้นตำบลทับทัน ตำบลขอนแตก ตำบลพระแก้ว และตำบลตาคง), อำเภอกาบเชิง (ยกเว้นตำบลแนงมุดและตำบลโคกตะเคียน) และอำเภอปราสาท (เฉพาะตำบลกันตรวจระมวลและตำบลบ้านไทร)
· เขตเลือกตั้งที่ 8: อำเภอพนมดงรัก, อำเภอปราสาท (ยกเว้นตำบลเชื้อเพลิง ตำบลทมอ ตำบลโคกยาง ตำบลบ้านไทร และตำบลกันตรวจระมวล) และอำเภอกาบเชิง (เฉพาะตำบลแนงมุดและตำบลโคกตะเคียน)
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลคอโค ตำบลตระแสง ตำบลสวาย ตำบลนาบัว ตำบลเฉนียง ตำบลนอกเมือง ตำบลเทนมีย์ ตำบลตาอ็อง และตำบลสำโรง), อำเภอลำดวน (ยกเว้นตำบลตรำดม) และอำเภอปราสาท (เฉพาะตำบลบ้านไทร ตำบลโคกยาง ตำบลทมอ ตำบลเชื้อเพลิง ตำบลไพล ตำบลประทัดบุ ตำบลสมุด และตำบลทุ่งมน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเขวาสินรินทร์, อำเภอเมืองสุรินทร์ (ยกเว้นตำบลคอโค ตำบลตระแสง ตำบลสวาย ตำบลนาบัว ตำบลเฉนียง ตำบลนอกเมือง ตำบลเทนมีย์ ตำบลตาอ็อง และตำบลสำโรง) และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลช่างปี่และตำบลจารพัต)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอจอมพระ, อำเภอโนนนารายณ์, อำเภอรัตนบุรี (เฉพาะตำบลหนองบัวบาน ตำบลเบิด และตำบลยางสว่าง), อำเภอสนม (ยกเว้นตำบลโพนโกและตำบลหัวงัว) และอำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลบัวโคก ตำบลเมืองแก ตำบลหนองเมธี ตำบลบะ และตำบลกระโพ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลพรมเทพ ตำบลทุ่งกุลา ตำบลท่าตูม ตำบลหนองบัว และตำบลโพนครก), อำเภอรัตนบุรี (ยกเว้นตำบลหนองบัวบาน ตำบลเบิด และตำบลยางสว่าง) และอำเภอสนม (เฉพาะตำบลโพนโก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอสำโรงทาบ, อำเภอสนม (เฉพาะตำบลหัวงัว), อำเภอศีขรภูมิ (ยกเว้นตำบลช่างปี่และตำบลจารพัต), อำเภอลำดวน (เฉพาะตำบลตรำดม) และอำเภอศรีณรงค์ (เฉพาะตำบลตรวจและตำบลแจนแวน)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอบัวเชด, อำเภอสังขะ และอำเภอศรีณรงค์ (ยกเว้นตำบลตรวจและตำบลแจนแวน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอกาบเชิง, อำเภอพนมดงรัก และอำเภอปราสาท (ยกเว้นตำบลบ้านไทร ตำบลโคกยาง ตำบลทมอ ตำบลเชื้อเพลิง ตำบลไพล ตำบลประทัดบุ ตำบลสมุด และตำบลทุ่งมน)
  7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1: อำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลในเมือง ตำบลนอกเมือง ตำบลคอโค ตำบลตระแสง ตำบลสวาย ตำบลนาบัว ตำบลเฉนียง ตำบลเทนมีย์ ตำบลตาอ็อง และตำบลสำโรง) และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลหนองเหล็กและตำบลตรมไพร)
· เขตเลือกตั้งที่ 2: อำเภอเขวาสินรินทร์, อำเภอเมืองสุรินทร์ (เฉพาะตำบลตั้งใจ ตำบลกาเกาะ ตำบลเพี้ยราม ตำบลนาดี ตำบลท่าสว่าง ตำบลแกใหญ่ ตำบลแสลงพันธ์ ตำบลสลักได ตำบลบุฤๅษี ตำบลเมืองที และตำบลราม) และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลจารพัต ตำบลช่างปี่ และตำบลแตล)
· เขตเลือกตั้งที่ 3: อำเภอจอมพระ, อำเภอท่าตูม (ยกเว้นตำบลพรมเทพ ตำบลทุ่งกุลา และตำบลโพนครก) และอำเภอสนม (ยกเว้นตำบลหัวงัว)
· เขตเลือกตั้งที่ 4: อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม (เฉพาะตำบลพรมเทพ ตำบลทุ่งกุลา และตำบลโพนครก) และอำเภอรัตนบุรี (ยกเว้นตำบลเบิดและตำบลยางสว่าง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5: อำเภอสำโรงทาบ, อำเภอโนนนารายณ์, อำเภอรัตนบุรี (เฉพาะตำบลเบิดและตำบลยางสว่าง), อำเภอสนม (เฉพาะตำบลหัวงัว) และอำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลคาละแมะ ตำบลหนองบัว ตำบลขวาวใหญ่ ตำบลตรึม ตำบลนารุ่ง ตำบลหนองขวาว ตำบลระแงง และตำบลยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6: อำเภอศรีณรงค์, อำเภอศีขรภูมิ (เฉพาะตำบลกุดหวายและตำบลผักไหม) และอำเภอสังขะ (ยกเว้นตำบลเทพรักษาและตำบลตาตุม)
· เขตเลือกตั้งที่ 7: อำเภอลำดวนและอำเภอปราสาท (ยกเว้นตำบลโชคนาสาม)
· เขตเลือกตั้งที่ 8: อำเภอพนมดงรัก, อำเภอกาบเชิง, อำเภอบัวเชด, อำเภอสังขะ (เฉพาะตำบลเทพรักษาและตำบลตาตุม) และอำเภอปราสาท (เฉพาะตำบลโชคนาสาม)
  8 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

แก้
ชุดที่ 1
พ.ศ. 2476
ขุนรักษ์รัษฎากร (จวบ ไมยรัตน์)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 นายปรึกษ์ แก้วปลั่ง นายขาว ธรรมสุชาติ นายสิงห์ทอง กองทรัพย์
2 นายบรรณ์ สวันตรัจฉ์ นายพันธุ์ มูลศาสตร์ นายยืน สืบนุการณ์ นายสุบรรณ สืบสิทธิ์

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

แก้
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายขาว ธรรมสุชาติ
นายนิล ประจันต์
พ.ศ. 2492 นายยืน สืบนุการณ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

แก้
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 นายเหลื่อม พันธ์ฤกษ์
2 นายญาติ ไหวดี
3 นายยืน สืบนุการณ์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายญาติ ไหวดี นายญาติ ไหวดี
นายเหลื่อม พันธ์ฤกษ์ นายเปลื้อง วรรณศรี
นายยืน สืบนุการณ์ นายสุธี ภูวพันธ์

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายสิน ดุสิตสิน
2 นายญาติ ไหวดี
3 นายเหลื่อม พันธ์ฤกษ์
4 นายจำนงค์ แก้วปลั่ง
5 นายชวาล วรรณศรี

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

แก้
      พรรคประชาธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวร่วมสังคมนิยม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย
      พรรคพลังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมาธิปไตย
      พรรคสังคมก้าวหน้า
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1 นายบุญเกิด นาคดี นายสุจินต์ อิ่มอรุณรักษ์
นายคำ คงจันทร์ นายอร่าม อมรดิษฐ์
นายสมัคร เจริญรัตน์ นายสมัคร เจริญรัตน์
2 นายสุธี ภูวพันธ์ นางจินตนา เรืองกาญจนเศรษฐ์
นายรามิศร ภัทรภานี นายมานะ พิทยาภรณ์
นายศิริ ผาสุก นายญาติ ไหวดี

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสนับสนุนนโยบายเกรียงศักดิ์
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาราษฎร์
      พรรคพลังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคสังคมประชาธิปไตย
เขต ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายบุญเกิด นาคดี นายพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร
นายวิสัณห์ สุดงาม นายบุญติด สุรประพจน์
นายญาติ ไหวดี นายสุธี ภูวพันธุ์
2 นายเหลื่อม พันธ์ฤกษ์ นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์
นายวิศิษฐ์ พิพัฒนฑรคานนท์ นายสมบัติ ศรีสุรินทร์
3 นายสามารถ เจริญรัตน์ นายสามารถ เจริญรัตน์
นายสมถวิล วชิรรัตนปรัชญ์ นายสมถวิล วชิรรัตนปรัชญ์

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

แก้
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคกิจสังคม
      พรรคก้าวหน้า
      พรรคชาติไทย
      พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคราษฎร
      พรรคเสรีนิยม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1 นายวิชัย จันทร์เจริญ นายสุธี ภูวพันธุ์ นายสุธี ภูวพันธุ์ นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
นายพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร นายพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร
นายเกษม รุ่งธนเกียรติ นายอุทัย ศรีสงค์ นายชูชัย มุ่งเจริญพร
2 นายเสกสรร แสนภูมิ (ถูกให้ออกจากพรรค) นายเสกสรร แสนภูมิ นายพิศาล มูลศาสตรสาทร
นายเสกสรร แสนภูมิ (ได้รับเลือกตั้งใหม่)
นายบุญเกิด นาคดี นายอร่าม อามระดิษ
นายยรรยง ร่วมพัฒนา นายยรรยง ร่วมพัฒนา นายเสกสรร แสนภูมิ
3 นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ นายเกียรติ ศรีสุรินทร์ นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์
นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ นายเกียรติ ศรีสุรินทร์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติพัฒนา
      พรรคเอกภาพ
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายชูชัย มุ่งเจริญพร นายเกียรติ ศรีสุรินทร์
นายเกษม รุ่งธนเกียรติ นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
นายพูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร
2 นายพิศาล มูลศาสตรสาทร (เสียชีวิต) นายเสกสรร แสนภูมิ
นายทศพร มูลศาสตรสาทร (แทนนายพิศาล)
นายยรรยง ร่วมพัฒนา นายยรรยง ร่วมพัฒนา
นายอร่าม อามระดิษ นายทศพร มูลศาสตรสาทร
3 นายกำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา
นายชูศักดิ์ แอกทอง
นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ นายสมบัติ ศรีสุรินทร์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
      พรรคความหวังใหม่
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายชูชัย มุ่งเจริญพร
2 นายธีรโชต กองทอง นายเกษม รุ่งธนเกียรติ
3 นางฟาริดา สุไลมาน
4 นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา   นายธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา
นายประภาส วีระเสถียร
(แทนนายธีระชัย /   )
นางนัฐมล สมบูรณ์เทอดธนา
(แทนนายประภาส)
5 นายประดุจ มั่นหมาย
6 นายศุภรักษ์ ควรหา
7 นายสมศักดิ์ เจริญพันธ์   นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
(แทนนายสมศักดิ์)
8 นายเสกสรร แสนภูมิ นายสุริยะ ร่วมพัฒนา
9 นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชนพรรคมาตุภูมิ
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคภูมิใจไทย
      พรรคมัชฌิมาธิปไตยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นางฟาริดา สุไลมาน
นายกิตติศักดิ์ รุ่งธนเกียรติ
นายปกรณ์ มุ่งเจริญพร
2 นายสาธิต เทพวงศ์ศิริรัตน์
นายยรรยง ร่วมพัฒนา
นางกรรณิการ์ เจริญพันธ์
3 นายธีระทัศน์ เตียวเจริญโสภา
นางมลิวัลย์ ธัญญสกุลกิจ
(พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาล)
นายศุภรักษ์ ควรหา
(แทนนางมลิวัลย์)
นายเลิศศักดิ์ ทัศนเศรษฐ

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชารัฐ พรรคเศรษฐกิจไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายปกรณ์ มุ่งเจริญพร
2 นางปิยะดา มุ่งเจริญพร นายณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายชูชัย มุ่งเจริญพร
3 นายคุณากร ปรีชาชนะชัย นางสาวผกามาศ เจริญพันธ์
4 นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล
(เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายพรเทพ พูนศรีธนากูล
5 นายครูมานิตย์ สังข์พุ่ม
6 จ่าสิบตำรวจ ประสิทธิ์ ไชยศีรษะ นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ นายล้ำเลิศ พัวพัฒนโชติ
7 นายสมบัติ ศรีสุรินทร์ นายชูศักดิ์ แอกทอง นายเรืองวิทย์ คูณวัฒนาพงษ์
8 นายชูศักดิ์ แอกทอง ยุบเขต 8 นางปทิดา ตันติรัตนานนท์

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้