สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร

จังหวัดสมุทรสาคร มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 3 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 3 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์ แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสมุทรสาครมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท)[2]

เขตเลือกตั้ง แก้

การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลท่าจีน ตำบลบางหญ้าแพรก ตำบลโกรกกราก ตำบลท่าฉลอม ตำบลมหาชัย ตำบลโคกขาม ตำบลพันท้ายนรสิงห์ และตำบลคอกกระบือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอกระทุ่มแบนและอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลนาดีและตำบลบางน้ำจืด)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านแพ้วและอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลนาโคก ตำบลกาหลง ตำบลบางโทรัด ตำบลบ้านบ่อ ตำบลบางกระเจ้า ตำบลชัยมงคล และตำบลบ้านเกาะ)
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลมหาชัย ตำบลท่าฉลอม ตำบลโกรกกราก ตำบลบางหญ้าแพรก ตำบลโคกขาม ตำบลพันท้ายนรสิงห์ ตำบลบางน้ำจืด และตำบลคอกกระบือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลนาดี) และอำเภอกระทุ่มแบน (ยกเว้นตำบลหนองนกไข่และตำบลบางยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านแพ้ว, อำเภอกระทุ่มแบน (เฉพาะตำบลหนองนกไข่และตำบลบางยาง) และอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลบ้านเกาะ ตำบลชัยมงคล ตำบลบางกระเจ้า ตำบลท่าจีน ตำบลบ้านบ่อ ตำบลบางโทรัด ตำบลกาหลง และตำบลนาโคก)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลท่าทราย ตำบลมหาชัย ตำบลท่าฉลอม ตำบลโกรกกราก ตำบลบางหญ้าแพรก ตำบลโคกขาม ตำบลพันท้ายนรสิงห์ ตำบลบางน้ำจืด และตำบลคอกกระบือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลนาดี) และอำเภอกระทุ่มแบน (ยกเว้นตำบลหนองนกไข่ ตำบลบางยาง และตำบลท่าเสา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านแพ้ว, อำเภอกระทุ่มแบน (เฉพาะตำบลหนองนกไข่ ตำบลบางยาง และตำบลท่าเสา) และอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลบ้านเกาะ ตำบลชัยมงคล ตำบลบางกระเจ้า ตำบลท่าจีน ตำบลบ้านบ่อ ตำบลบางโทรัด ตำบลกาหลง และตำบลนาโคก)
  3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495 แก้

ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท)
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 นายยืนยง (ย้ง) เจียมไชยศรี (เสียชีวิต)
ขุนสุคนธวิทศึกษากร (สำอางค์ สุคนธวิท)
(แทนนายยืนยง)
ชุดที่ 4 พ.ศ. 2489
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายลาภ เงินดี
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายพร มลิทอง

ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512 แก้

      พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
      พรรคชาตินิยม
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 พ.ศ. 2500/1 นายบุญล้อม ศรีสุวรรณ (เสียชีวิต)
นายเฉลิม ศรีสุวรรณ (แทนนายบุญล้อม)
ชุดที่ 9 พ.ศ. 2500/2 นายเฉลิม ศรีสุวรรณ
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายสุรินทร์ เทพกาญจนา

ชุดที่ 11–18; พ.ศ. 2518–2535 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคความหวังใหม่
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายณรงค์ สุนทรวร นายสุรินทร์ เทพกาญจนา
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายเอนก ทับสุวรรณ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายเจี่ย ก๊กผล
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531
ชุดที่ 17 พ.ศ. 2535/1 นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ
ชุดที่ 18 พ.ศ. 2535/2 นายเอนก ทับสุวรรณ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539 แก้

      พรรคความหวังใหม่
      พรรคมวลชน
เขต ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์
นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์
นายเจี่ย ก๊กผล นายเจี่ย ก๊กผล

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นายเอนก ทับสุวรรณ นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์
2 นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ นายศุภพรพงศ์ ชวนบุญ
3 นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์
นายครรชิต ทับสุวรรณ
นายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566 แก้

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคอนาคตใหม่พรรคชาติพัฒนาพรรคชาติพัฒนากล้า
      พรรคพลังประชารัฐพรรคเศรษฐกิจไทย → พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคก้าวไกล
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2 เขตเลือกตั้งที่ 3
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายครรชิต ทับสุวรรณ นายบุญชู นิลถนอม นายนิติรัฐ สุนทรวร
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายทองแดง เบ็ญจะปัก นายสมัคร ป้องวงษ์
(ลาออก /ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาวจอมขวัญ กลับบ้านเกาะ
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายณัฐพงษ์ สุมโนธรรม นายศิริโรจน์ ธนิกกุล นายศิรสิทธิ์ สงนุ้ย

รูปภาพ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น แก้