สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน

จังหวัดลำพูน มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดลำพูน
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต2
คะแนนเสียง103,393 (ก้าวไกล)
75,378 (เพื่อไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งประชาชน (1)
เพื่อไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดลำพูนมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ เจ้าบุญมี ตุงคนาคร

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำพูน (ยกเว้นตำบลมะเขือแจ้)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบ้านธิ, อำเภอป่าซาง, อำเภอแม่ทา และอำเภอเมืองลำพูน (เฉพาะตำบลมะเขือแจ้)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอลี้, อำเภอทุ่งหัวช้าง, อำเภอบ้านโฮ่ง และกิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองลำพูน, อำเภอบ้านธิ และอำเภอแม่ทา
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอป่าซาง, อำเภอเวียงหนองล่อง, อำเภอบ้านโฮ่ง, อำเภอทุ่งหัวช้าง และอำเภอลี้
  2 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 เจ้าบุญมี ตุงคนาคร
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 เจ้าบุญมี ตุงคนาคร
สิงหาคม พ.ศ. 2489 นายสม ชุตินันท์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายชัยวัธน์ อินทะพันธ์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายชัยวัธน์ อินทะพันธ์

ชุดที่ 8–14; พ.ศ. 2500–2526

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคสยามประชาธิปไตย
      พรรคประชาไทยพรรคชาติไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เจ้าวรทัศน์ ณ ลำพูน เจ้าบุญมี ตุงคนาคร
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายบุญศรี ปรีคำ
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายสันติ์ เทพมณี
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายสันติ์ เทพมณี นายสมาน ชมภูเทพ
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายสันติ์ เทพมณี นายสมาน ชมภูเทพ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายมนตรี ด่านไพบูลย์ นายสมาน ชมภูเทพ
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายมนตรี ด่านไพบูลย์ นายสมาน ชมภูเทพ

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายมนตรี ด่านไพบูลย์ นายจริญญา พึ่งแสง นายประเทือง ปานลักษณ์
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายสมาน ชมภูเทพ
(ลาออก)
นายสังวาลย์ วงศ์วรรณ
นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
(แทนนายสมาน)
ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นายมนตรี ด่านไพบูลย์ นายสมาน ชมภูเทพ นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 นายสมาน ชมภูเทพ นายประเทือง ปานลักษณ์
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 นายธัญ การวัฒนาศิริกุล นายประเทือง ปานลักษณ์
ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539 นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางสาวอาภาภรณ์ พุทธปวน
2 นายสงวน พงษ์มณี
3 นายทรงชัย วงศ์สวัสดิ์ นายสถาพร มณีรัตน์

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายขยัน วิพรหมชัย
(แทนนายอนุสรณ์)
นายสถาพร มณีรัตน์
นายสงวน พงษ์มณี

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1 เขตเลือกตั้งที่ 2
ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 นายสงวน พงษ์มณี นายสถาพร มณีรัตน์ (เสียชีวิต)
นายรังสรรค์ มณีรัตน์
(แทนนายสถาพร)
ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 นายรังสรรค์ มณีรัตน์
ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 นายวิทวิสิทธิ์ ปันสวนปลูก

รูปภาพ

แก้

ผู้ดำรงตำแหน่ง/เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูนที่ยังมีชีวิตอยู่

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้