สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี
จังหวัดราชบุรี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดราชบุรี | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 5 |
คะแนนเสียง | 136,522 (พลังประชารัฐ) 121,907 (รวมไทยสร้างชาติ) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | พลังประชารัฐ (3) รวมไทยสร้างชาติ (2) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดราชบุรีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 7 สมัย ได้แก่ นายทวี ไกรคุปต์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดราชบุรี คือ นางสาวกุสุมา ศรสุวรรณ (จากการเลือกตั้งในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2535)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ นพอมรบดี (3 คน) ได้แก่ นางกอบกุล นพอมรบดี, นายมานิต นพอมรบดี และนางสาวกุลวลี นพอมรบดี
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2500/1 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | |||
พ.ศ. 2518 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และกิ่งอำเภอสวนผึ้ง · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอวัดเพลง และอำเภอปากท่อ |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ และอำเภอสวนผึ้ง |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง, อำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลน้ำพุ ตำบลห้วยไผ่ ตำบลดอนแร่ และตำบลอ่างทอง), อำเภอจอมบึง (เฉพาะตำบลรางบัว) และกิ่งอำเภอบ้านคา · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึง (ยกเว้นตำบลรางบัว) และอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้องและตำบลบ้านสิงห์) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านโป่ง, อำเภอโพธาราม, อำเภอจอมบึง, อำเภอบางแพ และอำเภอดำเนินสะดวก · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองราชบุรี, อำเภอวัดเพลง, อำเภอปากท่อ, อำเภอบ้านคา และอำเภอสวนผึ้ง |
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองราชบุรี (ยกเว้นตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสวนผึ้ง, อำเภอบ้านคา, อำเภอปากท่อ, อำเภอวัดเพลง และอำเภอเมืองราชบุรี (เฉพาะตำบลอ่างทอง ตำบลดอนแร่ ตำบลห้วยไผ่ และตำบลน้ำพุ) · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอจอมบึงและอำเภอโพธาราม (ยกเว้นตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย) · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านโป่ง · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอดำเนินสะดวก, อำเภอบางแพ และอำเภอโพธาราม (เฉพาะตำบลบ้านฆ้อง ตำบลบ้านสิงห์ และตำบลดอนทราย) |
5 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | |||
พ.ศ. 2566 |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–5; พ.ศ. 2476–2492
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายกิมเส็ง (โกศล) สินธุเสก |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | นายทองดี จันทรกุล |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายเทียม ณ สงขลา |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายใย อุลิศ (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายปฐม โพธิ์แก้ว |
พ.ศ. 2492 | นายโกศล สินธุเสก (เลือกตั้งเพิ่มเติม) |
ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495
แก้ลำดับ | ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 |
1 | นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ |
2 | นายเทียม ณ สงขลา |
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ | นายเทียม ณ สงขลา | นายปฐม โพธิ์แก้ว |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ | ร้อยเอก ประลอง บูชา | |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายจรูญ วัฒนากร | นายทวิช กลิ่นประทุม | นายวินิจ วังตาล |
ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526
แก้- พรรคเกษตรกร
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคชาติไทย
- พรรคสยามประชาธิปไตย
- พรรคประชาไทย → พรรคชาติไทย
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | ||
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายสมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ | นายวินิจ วังตาล | นายจรูญ วัฒนากร | นายนิพนธ์ ศศิธร |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | ร้อยตรี ธรรมนูญ ตัณฑะเตมีย์ | นายนิพนธ์ ศศิธร | นายจรูญ วัฒนากร | นายทวิช กลิ่นประทุม |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายทวี ไกรคุปต์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
นายจิระ มังคลรังษี | นายจรูญ วัฒนากร | ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่) |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายทวี ไกรคุปต์ | นายจิระ มังคลรังษี | นายจรูญ วัฒนากร (เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)[2] |
ร้อยตำรวจโทเชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ |
ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539
แก้- พรรคชาติไทย
- พรรคกิจสังคม
- พรรคปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
- พรรคพลังธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคนำไทย
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 | |||
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายสรอรรถ กลิ่นประทุม | นายจิระ มังคลรังษี | นายทวี ไกรคุปต์ | นายทวิช กลิ่นประทุม | ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | พันเอก วินัย เจริญจันทร์ | ||||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายขจรศักดิ์ จินตานนท์ | นางสาวกุสุมา ศรสุวรรณ | ร้อยตำรวจโท เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายจิระ มังคลรังษี | นายทวี ไกรคุปต์ | |||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ | นายทวี ไกรคุปต์ | นายบุญมาก ศิริเนาวกุล | ||
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายสรอรรถ กลิ่นประทุม | นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ | นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นางกอบกุล นพอมรบดี ( / เลือกตั้งใหม่) |
นางกอบกุล นพอมรบดี |
2 | นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา | |
3 | นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ | นางสาวปารีณา ไกรคุปต์ |
4 | นายวิจัย วัฒนาประสิทธิ์ | นายวัฒนา มังคลรังษี |
5 | นายบุญลือ ประเสริฐโสภา |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- พรรคชาติไทย → พรรคชาติไทยพัฒนา
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคมัชฌิมาธิปไตย → พรรคภูมิใจไทย
เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายบุญลือ ประเสริฐโสภา (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายยศศักดิ์ ชีววิญญู (แทนนายบุญลือ) |
นางปารีณา ปาจรียางกูร | ||
นางสาวปรีชญา ขำเจริญ | ||
2 | นายมานิต นพอมรบดี | |
นายสามารถ พิริยะปัญญาพร |
ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566
แก้เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นายมานิต นพอมรบดี | นางสาวกุลวลี นพอมรบดี | นางสาวกุลวลี นพอมรบดี |
2 | นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา | นางบุญยิ่ง นิติกาญจนา | |
3 | นางปารีณา ไกรคุปต์ | นางสาวปารีณา ไกรคุปต์ (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมืองตลอดชีวิต / พ้นจากตำแหน่งตามคำพิพากษาศาลฎีกา) |
นายจตุพร กมลพันธ์ทิพย์ |
นายชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์ (แทนนางสาวปารีณา) | |||
4 | นางสาวชะวรลัทธิ์ ชินธรรมมิตร | นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ | นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์ |
5 | นายบุญดำรง ประเสริฐโสภา | นายบุญลือ ประเสริฐโสภา | นายชัยทิพย์ กมลพันธ์ทิพย์ |
รูปภาพ
แก้-
นายปฐม โพธิ์แก้ว
-
นายทวิช กลิ่นประทุม
-
นายนิพนธ์ ศศิธร
-
นายทวี ไกรคุปต์
-
นายสรอรรถ กลิ่นประทุม
-
นางกอบกุล นพอมรบดี
-
นางสาวปารีณา ไกรคุปต์
-
นายมานิต นพอมรบดี
-
นางสาวกุลวลี นพอมรบดี
-
นายอัครเดช วงษ์พิทักษ์โรจน์
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ พระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี ขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. ๒๕๒๙ (นายจรูญ วัฒนากร ถึงแก่กรรม จึงกำหนดวันเลือกตั้งขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่าง ในวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๒๙)
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- กรรมการการเลือกตั้งจังหวัดราชบุรี เก็บถาวร 2011-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน