สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง
จังหวัดระยอง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดระยอง | |
![]() เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 5 |
คะแนนเสียง | 179,087 (ก้าวไกล) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ประชาชน (5) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดระยองมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ หลวงประสานนฤชิต (เดิม อนุกระหานนท์)
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 8 สมัย ได้แก่ นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีชุดแรกของจังหวัดระยอง คือ นางสาวกมนทรรศน์ กิตติสุนทรสกุล และนางสว่างจิตต์ เลาหะโรจนพันธ์ (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ปิตุเตชะ (3 คน) ได้แก่ นายปิยะ ปิตุเตชะ นายสาธิต ปิตุเตชะ และนายธารา ปิตุเตชะ
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | |||
พ.ศ. 2518 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | 3 คน (เขตละ 3 คน) | ||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองระยอง (ยกเว้นตำบลแกลง) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกลง, อำเภอวังจันทร์, อำเภอเมืองระยอง (เฉพาะตำบลแกลง) และกิ่งอำเภอเขาชะเมา · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านค่าย, อำเภอปลวกแดง, อำเภอบ้านฉาง และกิ่งอำเภอนิคมพัฒนา |
3 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลปากน้ำ ตำบลท่าประดู่ ตำบลเชิงเนิน ตำบลน้ำคอก ตำบลนาตาขวัญ ตำบลบ้านแลง ตำบลตะพง ตำบลเพ ตำบลแกลง ตำบลกะเฉด (ในเขตเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด) และตำบลเนินพระ (ในเขตเทศบาลนครระยอง)] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกลงและอำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลสำนักทองและตำบลกะเฉด (นอกเขตเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด)] · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านค่าย, อำเภอปลวกแดง, อำเภอวังจันทร์ และกิ่งอำเภอเขาชะเมา · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านฉาง, อำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] และกิ่งอำเภอนิคมพัฒนา |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอบ้านฉาง, อำเภอนิคมพัฒนา และอำเภอเมืองระยอง (ยกเว้นตำบลสำนักทองและตำบลกะเฉด) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกลง, อำเภอเขาชะเมา, อำเภอวังจันทร์, อำเภอปลวกแดง, อำเภอบ้านค่าย และอำเภอเมืองระยอง (เฉพาะตำบลสำนักทองและตำบลกะเฉด) |
4 คน (2 เขต เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองระยอง [ยกเว้นตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกลงและอำเภอเขาชะเมา · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังจันทร์, อำเภอบ้านค่าย, อำเภอปลวกแดง และอำเภอนิคมพัฒนา [เฉพาะตำบลมะขามคู่ ตำบลพนานิคม และตำบลนิคมพัฒนา (นอกเขตเทศบาลตำบลมาบข่า)] · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านฉาง, อำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] และอำเภอนิคมพัฒนา [เฉพาะตำบลมาบข่าและตำบลนิคมพัฒนา (ในเขตเทศบาลตำบลมาบข่า)] |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองระยอง [ยกเว้นตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกลง, อำเภอเขาชะเมา และอำเภอวังจันทร์ · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านค่าย, อำเภอปลวกแดง และอำเภอนิคมพัฒนา [ยกเว้นตำบลมาบข่า (ในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด)][2] · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบ้านฉาง, อำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] และอำเภอนิคมพัฒนา [เฉพาะตำบลมาบข่า (ในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด)][2] |
4 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองระยอง [เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา ตำบลน้ำคอก ตำบลนาตาขวัญ ตำบลบ้านแลง และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)], อำเภอนิคมพัฒนา [เฉพาะตำบลมาบข่า (ในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด)] และอำเภอบ้านค่าย (เฉพาะตำบลตาขัน) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองระยอง [ยกเว้นตำบลห้วยโป่ง ตำบลมาบตาพุด ตำบลทับมา ตำบลน้ำคอก ตำบลนาตาขวัญ ตำบลบ้านแลง และตำบลเนินพระ (นอกเขตเทศบาลนครระยอง)] · เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแกลงและอำเภอเขาชะเมา · เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวังจันทร์, อำเภอบ้านค่าย (ยกเว้นตำบลตาขัน) และอำเภอปลวกแดง (ยกเว้นตำบลแม่น้ำคู้) · เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบ้านฉาง, อำเภอนิคมพัฒนา [ยกเว้นตำบลมาบข่า (ในเขตเทศบาลเมืองมาบตาพุด)] และอำเภอปลวกแดง (เฉพาะตำบลแม่น้ำคู้) |
5 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | หลวงประสานนฤชิต (เดิม อนุกระหานนท์) |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายเสกล เจตสมมา |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
แก้- พรรคเสรีมนังคศิลา
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 |
ชุดที่ 11–13; พ.ศ. 2518–2522
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายชำนาญ ผุดผ่อง | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายสริน ก้องกฤษฎา | นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายสิน กุมภะ | นายหอม ทองประเสริฐ |
ชุดที่ 14–20; พ.ศ. 2526–2539
แก้- พรรคกิจสังคม
- พรรคชาติไทย
- พรรคสหประชาธิปไตย
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
- พรรคสามัคคีธรรม
- พรรคความหวังใหม่
- พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | ||
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายสิน กุมภะ | นายหอม ทองประเสริฐ | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายสมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ | พลโท ฉลอม วิสมล | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | นายสิน กุมภะ | นายสมศักดิ์ ชาญด้วยกิจ | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | นายสิน กุมภะ | นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | นายจักรพันธุ์ ยมจินดา | นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ | |
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | นายปิยะ ปิตุเดชะ | นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ | นายเสริมศักดิ์ การุญ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | นายสาธิต ปิตุเตชะ | นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ |
2 | นายสิน กุมภะ | ร้อยตรี กฤษฎา การุญ |
3 | นายปิยะ ปิตุเตชะ | นายธารา ปิตุเตชะ |
4 | – | นายปราโมทย์ วีระพันธ์ |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 |
1 | นายสาธิต ปิตุเตชะ |
นายวิชัย ล้ำสุทธิ | |
2 | นายธารา ปิตุเตชะ |
นายบัญญัติ เจตนจันทร์ |
ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562
แก้เขต | ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 | ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562 |
1 | นายสาธิต ปิตุเตชะ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายสาธิต ปิตุเตชะ |
2 | นายบัญญัติ เจตนจันทร์ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายบัญญัติ เจตนจันทร์ |
3 | นายธารา ปิตุเตชะ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายธารา ปิตุเตชะ |
4 | นายวิชัย ล้ำสุทธิ (ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม) |
นายสมพงษ์ โสภณ |
ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566
แก้เขต | ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566 |
1 | นางสาวกมนทรรศน์ กิตติสุนทรสกุล |
2 | นายกฤช ศิลปชัย |
3 | นายนครชัย ขุนณรงค์ (ลาออก) |
นายพงศธร ศรเพชรนรินทร์ (แทนนายนครชัย) | |
4 | นายชุติพงศ์ พิภพภิญโญ |
5 | นางสว่างจิตต์ เลาหะโรจนพันธ์ |
รูปภาพ
แก้-
นายเสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์
-
นายยงยศ อรุณเวสสะเศรษฐ
-
นายสาธิต ปิตุเตชะ
-
นายบัญญัติ เจตนจันทร์
-
นายชุติพงศ์ พิภพภิญโญ
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- ↑ 2.0 2.1 "แก้ไขข้อความคลาดเคลื่อน ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง การแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง [ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๑๐๑ ก วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑] เรื่อง จำนวนสมาชิกผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งที่แต่ละจังหวัดจะพึงมี และจำนวนเขตเลือกตั้ง แบบแบ่งเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด [ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกาเล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑๐ ก วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๖๒]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 136 (15 ก): 18. 5 Feb 2019.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คณะกรรมการการเลือกตั้งจังหวัดระยอง เก็บถาวร 2014-01-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน