สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม

จังหวัดมหาสารคาม มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดมหาสารคาม
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต6
คะแนนเสียง229,263 (เพื่อไทย)
105,766 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (5)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

ประวัติศาสตร์

แก้

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดมหาสารคามมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์) และ นายทองม้วน อัตถากร[2]

เขตเลือกตั้ง

แก้
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2480 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอตลาด, อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอโคกพระ และอำเภอกมลาไสย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอยางตลาด, อำเภอหลุม, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอกุฉินารายณ์
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบรบือ, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย
3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคามและอำเภอวาปีปทุม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอบรบือ, อำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอพยัคฆภูมิพิสัย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอยางตลาด และอำเภอกมลาไสย
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกาฬสินธุ์, อำเภอสหัสขันธ์ และอำเภอกุฉินารายณ์
พ.ศ. 2491 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/1
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512 4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2518 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และกิ่งอำเภอนาดูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอเชียงยืน
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519
พ.ศ. 2522 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และกิ่งอำเภอนาดูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และกิ่งอำเภอแกดำ
พ.ศ. 2526 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอนาดูน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และกิ่งอำเภอแกดำ
พ.ศ. 2529 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และกิ่งอำเภอแกดำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอำเภอนาดูน
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอำเภอนาดูน
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน และกิ่งอำเภอยางสีสุราช
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน, กิ่งอำเภอยางสีสุราช และกิ่งอำเภอกุดรัง
พ.ศ. 2539 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอแกดำ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอนาดูน, อำเภอยางสีสุราช และกิ่งอำเภอกุดรัง
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคามและอำเภอกันทรวิชัย (เฉพาะตำบลเขวาใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกดำ, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช และอำเภอนาดูน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาเชือกและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอโกสุมพิสัยและกิ่งอำเภอกุดรัง
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอเชียงยืน, อำเภอกันทรวิชัย (ยกเว้นตำบลเขวาใหญ่) และกิ่งอำเภอชื่นชม
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอกุดรัง, อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอกันทรวิชัย, อำเภอเชียงยืน และอำเภอชื่นชม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกดำ, อำเภอวาปีปทุม, อำเภอบรบือ, อำเภอนาเชือก, อำเภอนาดูน, อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย และอำเภอยางสีสุราช
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอแกดำ, อำเภอเมืองมหาสารคาม (ยกเว้นตำบลลาดพัฒนาและตำบลท่าสองคอน) และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลบ่อใหญ่ ตำบลหนองโก ตำบลหนองม่วง และตำบลยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุมและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลบ่อใหญ่ ตำบลหนองโก ตำบลหนองม่วง และตำบลยาง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช, อำเภอนาดูน และอำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองโพธิ์ ตำบลสันป่าตอง ตำบลหนองกุง ตำบลหนองเม็ก และตำบลนาเชือก)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอโกสุมพิสัย, อำเภอกุดรัง และอำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองแดง ตำบลปอพาน ตำบลสำโรง ตำบลเขวาไร่ และตำบลหนองเรือ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชื่นชม, อำเภอเชียงยืน, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอเมืองมหาสารคาม (เฉพาะตำบลลาดพัฒนาและตำบลท่าสองคอน)
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม, อำเภอแกดำ และอำเภอโกสุมพิสัย (เฉพาะตำบลแก้งแก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอวาปีปทุมและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองคูขาด ตำบลวังไชย ตำบลโนนราษี และตำบลโนนแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช, อำเภอนาดูน และอำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองโพธิ์ ตำบลสันป่าตอง ตำบลหนองกุง ตำบลนาเชือก และตำบลเขวาไร่)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอกุดรัง, อำเภอโกสุมพิสัย (ยกเว้นตำบลแก้งแก ตำบลเลิงใต้ ตำบลแห่ใต้ ตำบลเขื่อน และตำบลหนองบัว), อำเภอนาเชือก (เฉพาะตำบลหนองเรือ ตำบลสำโรง ตำบลหนองเม็ก ตำบลปอพาน และตำบลหนองแดง) และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองคูขาด ตำบลวังไชย ตำบลโนนราษี และตำบลโนนแดง)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชื่นชม, อำเภอเชียงยืน, อำเภอกันทรวิชัย และอำเภอโกสุมพิสัย (เฉพาะตำบลเลิงใต้ ตำบลแห่ใต้ ตำบลเขื่อน และตำบลหนองบัว)
  5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองมหาสารคาม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแกดำ, อำเภอวาปีปทุม และอำเภอบรบือ (เฉพาะตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย, อำเภอยางสีสุราช และอำเภอนาดูน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอนาเชือกและอำเภอบรบือ (ยกเว้นตำบลหนองม่วง ตำบลยาง และตำบลบัวมาศ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอกุดรัง, อำเภอโกสุมพิสัย และอำเภอกันทรวิชัย (เฉพาะตำบลเขวาใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอชื่นชม, อำเภอเชียงยืน และอำเภอกันทรวิชัย (ยกเว้นตำบลเขวาใหญ่)
  6 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

แก้

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

แก้
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
พระยาสารคามคณาภิบาล (อนงค์ พยัคฆันตร์)
นายทองม้วน อัตถากร

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

แก้
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขต ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481 ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489 สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1 ขุนจรรยาวิเศษ (บุณยนิตย์ บุญเที่ยง) นายทองม้วน อัตถากร หลวงอังคณานุรักษ์ (สมถวิล เทพาคำ) นายจำลอง ดาวเรือง
2 นายทองดี ณ กาฬสินธุ์ นายกว้าง ทองทวี นายนาถ เงินทาบ
3 นายจำลอง ดาวเรือง นายบุญช่วย อัตถากร นายสิงห์โต พลวิจิตร
4 นายเอ็ด บุญไชย

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

แก้
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายฮวด ทองโรจน์
นายบุญช่วย อัตถากร
พ.ศ. 2492 นายนาถ เงินทาบ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

แก้
ลำดับ ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1 หลวงบริหารชนบท (เสียชีวิต)
นายบุญช่วย อัตถากร (แทนหลวงบริหารฯ)
2 นายนาถ เงินทาบ
3 นายธรรมนูญ ภูมาศ

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

แก้
      พรรคเศรษฐกร
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2499)
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายบุญคง บุญเพชร นายดิลก บุญเสริม
นายเกียรติ นาคะพงษ์ นายเกียรติ นาคะพงษ์
นายเรืองยศ ทองโรจน์ นายเกตุ วงศ์กาไสย

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

แก้
      พรรคสหประชาไทย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับ ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1 นายบุญช่วย อัตถากร
2 นายเกียรติ นาคะพงษ์
3 นายอายุทธ ฝ่ายคุณวงศ์
4 นายดิลก บุญเสริม

ชุดที่ 11–14; พ.ศ. 2518–2526

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคแนวร่วมสังคมนิยม
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติประชาธิปไตย
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขต ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1 นายอุดมพร ขอเพิ่มกลาง นายทวนทอง อิสระวงศ์ นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
นายสวาท ศิริโกมุท นายสำราญ วงษาจันทร์ นายสำราญ วงษาจันทร์ (เสียชีวิต) นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
นายทวนทอง อิสระวงศ์ (แทนนายสำราญ)
นายดิลก มะลิมาศ นางสมมุติ สัจจพงษ์ นายหัด ดาวเรือง (เสียชีวิต) นายทวิช กลิ่นประทุม
นายทวิช กลิ่นประทุม (แทนนายหัด)
2 นายอัมพล จันทรเจริญ นายผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์
นายยุทธพล ศรีมุงคุณ นายกริช กงเพชร นายปรุงศักดิ์ ไชยหาญ (เสียชีวิต) นายกริช กงเพชร
นายผดุงศักดิ์ อุดรพิมพ์ (แทนนายปรุงศักดิ์)

ชุดที่ 15–20; พ.ศ. 2529–2539

แก้
      พรรคกิจสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคมวลชนพรรคกิจสังคม
      พรรคเอกภาพ
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535 ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายอัมพล จันทรเจริญ นายสุชาติ ศรีสังข์ นายสุชาติ ศรีสังข์
นายประวัติ ทองสมบูรณ์ นายพยุง ช่ำชอง นายประวัติ ทองสมบูรณ์ นายมาโนช เชาวรัตน์
นายกริช กงเพชร นายมาโนช เชาวรัตน์ นายกริช กงเพชร
2 นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร นายอำนวย ปะติเส นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร
นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง นายสมมาศ เฮงสวัสดิ์ นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง นายสมมาศ เฮงสวัสดิ์ นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง นางมยุรา อุรเคนทร์
นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์ นายอำนวย ปะติเส นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

แก้
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)พรรคไทยรักไทย
เขต ชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548
1 นายทองหล่อ พลโคตร
2 นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์   นายสุชาติ ศรีสังข์
นายสุชาติ ศรีสังข์
(แทนนายไชยวัฒน์)
3 นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร
4 นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
5 นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท
6 นายกริช กงเพชร
(   / เลือกตั้งใหม่)
นายกริช กงเพชร

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

แก้
      พรรคพลังประชาชน
      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคพลังประชาชนพรรคภูมิใจไทย
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550
1 นายสุทิน คลังแสง
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายขจิตร ชัยนิคม
(แทนนายสุทิน /   )
นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
(แทนนายขจิตร)
นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์
นายสุรจิตร ยนต์ตระกูล
2 นายสรรพภัญญู ศิริไปล์
นายสุชาติ โชคชัยวัฒนากร
นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

แก้
      พรรคเพื่อไทย
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายสุรจิตร ยนต์ตระกูล นายกิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์
2 นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ นายไชยวัฒนา ติณรัตน์
3 นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร
4 นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์
5 นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท นายสุทิน คลังแสง

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

แก้
      พรรคเพื่อไทย
      พรรคภูมิใจไทย
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายกิตติศักดิ์ คณาสวัสดิ์
2 นายไชยวัฒนา ติณรัตน์
3 นายลัทธชัย โชคชัยวัฒนากร
4 นายสรรพภัญญู ศิริไปล์
5 นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์
6 นายรัฐ คลังแสง

รูปภาพ

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก จาก เว็บไซต์ สำนักข่าวออนไลน์อาร์วายทีไนน์
  3. ประกาศสภาผู้แทนราษฎร รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปรเภทที่ 1
  4. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  5. ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย
  6. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน จาก เว็บไซต์ รัฐสภาไทย

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้