สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา

สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา (ฝรั่งเศส: Association des Comités Nationaux Olympiques d'Afrique; ACNOA; อาหรับ: رابطة اللجان الأولمبية الوطنية في إفريقيا) เป็นองค์กรกีฬาระหว่างประเทศในทวีปแอฟริกาที่มี 54 สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกามีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาบูจา ประเทศไนจีเรีย โดยสืบต่อจากคณะกรรมการกีฬาแห่งแอฟริกา (อังกฤษ: Standing Committee of African Sports; ฝรั่งเศส: Comité permanent du sport africain)

สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา
Association of National Olympic Committees of Africa
Association des Comités Nationaux Olympiques d'Afrique
ประเทศสมาชิกแสดงด้วยสีเขียวบนแผนที่
ชื่อย่อANOCA
ก่อนหน้าคณะกรรมการกีฬาแห่งแอฟริกา
ก่อตั้ง28 มิถุนายน พ.ศ. 2524
ประเภทสหพันธ์กีฬา
วัตถุประสงค์บริหารจัดการแข่งขัน
กีฬาในทวีปแอฟริกา (2524-ปัจจุบัน)
สํานักงานใหญ่ไนจีเรีย อาบูจา, ไนจีเรีย
สมาชิก
54 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ
ภาษาทางการ
อังกฤษ อังกฤษ
ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ประธาน
โกตดิวัวร์ Lassana Palenfo
เว็บไซต์สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา

ประวัติ แก้

สมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแอฟริกา (ANOCA) ได้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2524 ที่โลเม ประเทศโตโก ซึ่งเป็นหน่วยงานกีฬาที่สืบต่อจากคณะกรรมการกีฬาแห่งแอฟริกา ซึ่งได้เปลี่ยนเป็นสภากีฬาสูงสุดแห่งแอฟริกาในปีพ.ศ. 2509

ชาติสมาชิก แก้

ในตารางต่อไปนี้เป็นคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติในทวีปแอฟริกาที่มีการยอมรับโดยไอโอซี (คณะกรรมการโอลิมปิกสากล)

ประเทศ รหัส คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อ สมาชิก ANOCA อ้างอิง
ภูมิภาคแอฟริกาเหนือ
  แอลจีเรีย ALG คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งแอลจีเรีย 1963/1964 1965 [1]
  อียิปต์ EGY คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งอียิปต์ 1910 1965 [2]
  ลิเบีย LBA คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งลิเบีย 1962/1963 TBD [3]
  โมร็อกโก MAR คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งโมร็อกโก 1959 TBD [4]
  ตูนิเซีย TUN คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งตูนิเซีย 1957 1965 [5]
ภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก
  กาบูเวร์ดี CPV คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งกาบูเวร์ดี 1989/1993 TBD [6]
  เบนิน BEN คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาเบนิน 1962 TBD [7]
  บูร์กินาฟาโซ BUR คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาบูร์กินาฟาโซ 1965/1972 1965 [8]
  แกมเบีย GAM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแกมเบีย 1972/1976 TBD [9]
  กานา GHA คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งกานา 1951/1952 1965 [10]
  กินี GUI คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬากินี 1964/1965 TBD [11]
  กินี-บิสเซา GBS คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งกินี-บิสเซา 1992/1995 TBD [12]
  โกตดิวัวร์ CIV คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งโกตดิวัวร์ 1962/1963 1965 [13]
  ไลบีเรีย LBR คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติไลบีเรีย 1954/1955 TBD [14]
  มาลี MLI คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬามาลี 1962/1963 1965 [15]
  มอริเตเนีย MTN คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬามอริเตเนีย 1962/1979 TBD [16]
  ไนเจอร์ NIG คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาไนเจอร์ 1964 1965 [17]
  ไนจีเรีย NGR คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งไนจีเรีย 1951 1965 [18]
  เซเนกัล SEN คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาเซเนกัล 1961/1963 1965 [19]
  เซียร์ราลีโอน SLE คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งเซียร์ราลโอน 1964 TBD [20]
  โตโก TOG คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งโตโก 1963/1965 1965 [21]
ภูมิภาคแอฟริกากลาง
  แคเมอรูน CMR คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาแคเมอรูน 1963 1965 [22]
  สาธารณรัฐแอฟริกากลาง CAF คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาสาธารณรัฐแอฟริกากลาง 1964/1965 1965 [23]
  ชาด CHA คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาชาด 1963/1964 1965 [24]
  สาธารณรัฐคองโก CGO คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาคองโก 1964 1965 [25]
  สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก COD คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 1963/1968 1965 [26]
  อิเควทอเรียลกินี GEQ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งอิเควทอเรียลกินี 1980/1984 TBD [27]
  กาบอง GAB คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งกาบอน 1965/1968 1965 [28]
  เซาตูแมอีปริงซีป STP คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งเซาตูเมและปรินซิปี 1979/1993 TBD [29]
ภูมิภาคแอฟริกาตะวันออก
  บุรุนดี BDI คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งบุรุนดี 1990/1993 TBD [30]
  จิบูตี DJI คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งจิบูตี 1983/1984 TBD [31]
  เอริเทรีย ERI คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาตอเอริเทรีย 1996/1999 TBD [32]
  เอธิโอเปีย ETH คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งเอธิโอเปีย 1948/1954 1965 [33]
  เคนยา KEN คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติเคนยา 1955 1965 [34]
  รวันดา RWA คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬารวันดา 1984 TBD [35]
  เซเชลส์ SEY สมาคมโอลิมปิกและกีฬาเครือจักรภพแห่งเซเชลล์ 1979 TBD [36]
  โซมาเลีย SOM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งโซมาเลีย 1959/1972 TBD [37]
  ซูดานใต้ SSD คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติซูดานใต้ 2015 2015 [38]
  ซูดาน SUD คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งซูดาน 1956/1959 TBD [39]
  แทนซาเนีย TAN คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งแทนซาเนีย 1968 1965 [40]
  ยูกันดา UGA คณะกรรมการโอลิมปิกแห่ยูกันดา 1950/1956 1965 [41]
ภูมิภาคแอฟริกาใต้
  แองโกลา ANG คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งแองโกลา 1979/1980 TBD [42]
  บอตสวานา BOT คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติบอตสวานา 1978/1980 TBD [43]
  คอโมโรส COM คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาคอโมโรส 1979/1993 TBD [44]
  เลโซโท LES คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติเลโซโท 1971/1972 TBD [45]
  มาดากัสการ์ MAD คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งมาดากัสการ์ 1963/1964 1965 [46]
  มาลาวี MAW คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาเครือจักรภพแห่งมาลาวี 1968 TBD [47]
  มอริเชียส MRI คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งมอริเชียส 1971/1972 TBD [48]
  โมซัมบิก MOZ คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติโมซัมบิก 1979 TBD [49]
  นามิเบีย NAM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาตินามิเบีย 1990/1991 TBD [50]
  แอฟริกาใต้ RSA สหพันธ์กีฬาและคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งแอฟริกาใต้ 1991 TBD [51]
  เอสวาตินี SWZ คณะกรรมการโอลิมปิกและกีฬาเครือจักรภพแห่งสวาซิแลนด์ 1971/1972 TBD [52]
  แซมเบีย ZAM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติแซมเบีย 1964 1965 [53]
  ซิมบับเว ZIM คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งซิมบับเว 1934/1980 TBD [54]

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้