สมหมาย เกาฏีระ
พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมหมาย เกาฏีระ หรือ บิ๊กเต้ สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 ตุลาการศาลทหารสูงสุด[1] อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด , อดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ[2] กรรมการในคณะกรรมการอำนวยการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 140/2557 [3] นายทหารพิเศษประจำหน่วยทหารรักษาพระองค์[4]อดีตราชองครักษ์พิเศษ[5]
สมหมาย เกาฏีระ | |
---|---|
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 | |
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
ก่อนหน้า | พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร |
ถัดไป | พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ |
สมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 9 มีนาคม พ.ศ. 2499 |
คู่สมรส | พลตรีหญิง รัชดา เกาฏีระ |
การเข้าเป็นทหาร | |
รับใช้ | ![]() |
สังกัด | กองบัญชาการกองทัพไทย |
ยศ | ![]() ![]() ![]() |
การศึกษาแก้ไข
จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จากนั้นเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 15 รุ่นเดียวกับ พลเอก ปรีชา จันทร์โอชา ปลัดกระทรวงกลาโหม , พลเรือเอก ณะ อารีนิจ ผู้บัญชาการทหารเรือ , พลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และเข้ารับการศึกษาต่อเนื่องที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 26 รุ่นเดียวกับ พลเอก ไพบูลย์ คุ้มฉายา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม , พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
การรับราชการแก้ไข
รางวัลแก้ไข
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แก้ไข
- พ.ศ. 2554 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[13]
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[14]
- พ.ศ. 2524 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[15]
- พ.ศ. 2526 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[16]
- พ.ศ. 2532 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[17]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/209/2.PDF
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานยศทหารและแต่งตั้งนายทหารพิเศษ เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ http://www.opm.go.th/imageopm/nps/nps6950.pdf
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/062/15.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/092/T_0001.PDF
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๒๓ ตอน ๕๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๒๕ ตอน พิเศษ ๑๖๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๒๘ ตอน พิเศษ ๑๑๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๒๙ ตอน พิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๓๑ ตอน พิเศษ ๑๗๖ ง ราชกิจจานุเบกษา ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๓๒ ตอน พิเศษ ๑๙๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
- ↑ รายนามผู้ได้รับรางวัลเกียรติยศจักดาว ประจำปี 2557 เว็บไซต์โรงเรียนเตรียมทหาร
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๔, เล่ม ๑๒๘ ตอนที่ ๒๔ ข หน้า ๕, ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๒๔ ตอนที่ ๑๘ ข หน้า ๑๑, ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๘ ตอนที่ ๒๕ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๒๖, ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔, ๑๖ มกราคม ๒๕๒๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๘๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๗, ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๓๓
ก่อนหน้า | สมหมาย เกาฏีระ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร | ผู้บัญชาการทหารสูงสุด (1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559) |
พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ |