สมบุญ ผ่องอักษร
สมบุญ ผ่องอักษร เป็นนายแพทย์ชาวไทย เป็นนักการเมืองชาวไทย เคยเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร ในปี 2512 – 2516
สมบุญ ผ่องอักษร | |
---|---|
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข | |
ดำรงตำแหน่ง 11 มีนาคม พ.ศ. 2512 – 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | |
นายกรัฐมนตรี | จอมพล ถนอม กิตติขจร |
ดำรงตำแหน่ง 19 ธันวาคม พ.ศ. 2515 – 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 6 มิถุนายน พ.ศ. 2454 |
เสียชีวิต | 12 มกราคม พ.ศ. 2532 (77 ปี) |
ประวัติ
แก้สมบุญ ผ่องอักษร สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์[1] ด้านการแพทย์จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล และได้รับปริญญาโทรวมถึงปริญญาเอกด้านสาธารณสุขจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและมหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ตามลำดับ[2] และจบการศึกษาหลักสูตรสำนักข่าวสารสงครามจากสหรัฐอเมริกา
งานของเขามุ่งเน้นไปที่สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทย และในฐานะผู้อำนวยการสถาบันโรคทรวงอก ของกรมควบคุมโรค โดยเป็นผู้นำแผนควบคุมวัณโรคทั่วประเทศครั้งแรกในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950[3] เขาเป็นประธานคนแรกของแพทยสภา (2510 – 2513)[4] เป็นปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2512) ตลอดจนทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข[5] ในรัฐบาลของจอมพล ถนอม กิตติขจร ในปี 2512 จนถึงปี 2514 และในปี 2515 – 2516 สิ้นสุดทบาทเมื่อเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2513 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[6]
- พ.ศ. 2510 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2511 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[8]
- พ.ศ. 2510 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))[9]
- พ.ศ. 2505 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[10]
อ้างอิง
แก้- ↑ โรงเรียนเทพศิรินทร์
- ↑ Johns Hopkins University (2 June 1942). "Candidatese for degress June 2, 1942". Johns Hopkins Sheridan Libraries. สืบค้นเมื่อ 11 November 2019.
- ↑ "แรกเริ่มภารกิจต่อต้านวัณโรคในประเทศไทย". Hfocus. 7 February 2018.
- ↑ ประวัติความเป็นมาของแพทยสภา
- ↑ "รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อดีต - ปัจจุบัน". moph.go.th. Ministry of Public Health. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-11. สืบค้นเมื่อ 11 November 2019.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๗ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๖, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๑๒๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๘, ๓๐ ธันวาคม ๒๕๑๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า[ลิงก์เสีย], เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๔๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๕, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา เก็บถาวร 2018-02-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๘๔ ตอนที่ ๓๐ ง หน้า ๑๑๔๑, ๔ เมษายน ๒๕๑๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา[ลิงก์เสีย], เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗๑๑, ๔ มกราคม ๒๕๐๖