บุนเดิสราท
คณะมนตรีสหพันธ์ (เยอรมัน: Bundesrat) คือสภาผู้แทนรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี[1] ประกอบด้วยผู้แทนจากสิบหกรัฐ[2] ปัจจุบันประชุมกันที่อาคารสภาขุนนางปรัสเซียในกรุงเบอร์ลิน เดิมที่ประชุมกันที่กรุงบอนน์
คณะมนตรีสหพันธ์ Bundesrat | |
---|---|
ก่อตั้ง 23 พฤษภาคม 1949 | |
![]() | |
ประเภท | |
ประเภท | สภาผู้แทนรัฐ |
ผู้บริหาร | |
ประธาน | ดีทมาร์ โวอิดเคอ ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 |
โครงสร้าง | |
สมาชิก | 69 คน |
![]() | |
กลุ่มการเมืองใน | รัฐบาล (12 คน)
เป็นกลาง (57 คน)
|
ที่ประชุม | |
อาคารสภาขุนนางปรัสเซีย กรุงเบอร์ลิน | |
เว็บไซต์ | |
bundesrat.de |
คณะมนตรีสหพันธ์ถือเป็นองค์กรคู่ขนานในการพิจารณาตรากฎหมายควบคู่กับสภาสหพันธ์ (Bundestag) ในขณะที่สภาสหพันธ์พิจารณาตรากฎหมายโดยคำนึงถึงประชาชนเป็นหลัก คณะมนตรีสหพันธ์จะกลั่นกรองกฎหมายเหล่านั้นในแง่มุมที่อาจกระทบกระเทือนศักยภาพของรัฐตน นอกจากนี้ การแก้ไขรัฐธรรมนูญจำต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะมนตรีสหพันธ์ ด้วยเหตุนี้ในบางครั้ง คณะมนตรีสหพันธ์จึงถูกมองว่าเป็นสภาสูงของเยอรมนี ทั้งที่ในรัฐธรรมนูญเยอรมนีไม่ได้ระบุว่าคณะมนตรีสหพันธ์และสภาสหพันธ์ประกอบกันเป็นรัฐสภาในระบบสองสภา
เนื่องจากคณะมนตรีสหพันธ์มีขนาดเล็กกว่าสภาผู้แทนราษฎรมาก จึงจัดการประชุมตามวาระขึ้นเพียงเดือนละครั้งเท่านั้น (ในขณะที่สภาผู้แทนราษฎรจัดประชุมสัปดาห์ละครั้ง) เพื่อลงมติรับรองข้อกฎหมายที่ถูกจัดเตรียมไว้
ดูเพิ่มแก้ไข
- ไรชส์ทาค (Reichstag)
- คณะมนตรีผู้แทนราษฎร (Rat der Volksbeauftragten)
- ไรชส์ราท (Reichsrat)
อ้างอิงแก้ไข
- ↑
สมใจ ไพโรจน์ธีระรัชต์ (2547). ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม และคณะ (บ.ก.). สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: ยุโรป ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (pdf). 1 (อักษร A-B) (3 ed.). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. p. 137. ISBN 974-9588-25-8. Check date values in:
|year=
(help) สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2555. - ↑ The Bundesrat is referred to here as the second chamber of the German parliament, but this designation is disputed by some. Reuter, Konrad (2003). "Zweite Kammer?". Bundesrat und Bundesstaat: Der Bundesrat der Bundesrepublik Deutschland (pdf) (ภาษาGerman) (12th ed. ed.). Berlin: Direktor des Bundesrates. p. 50. ISBN 3-923706-22-7. สืบค้นเมื่อ 2007-01-04.
Im Ausland wird ein solches parlamentarisches System im Allgemeinen als Zweikammer- System bezeichnet. Für Bundestag und Bundesrat ist dagegen eine gemeinsame Bezeichnung nicht allgemein üblich, und es ist sogar umstritten, ob der Bundesrat eine Zweite Kammer ist. (English: Abroad, such a parliamentary system is in general called a bicameral one. For Bundestag and Bundesrat such a common designation is not usual and it is even contentious whether the Bundesrat is a second chamber at all.)
CS1 maint: unrecognized language (link) CS1 maint: extra text (link)