สนามกีฬาเวมบลีย์ (1923)

สนามกีฬาเวมบลีย์ (อังกฤษ: Wembley Stadium) ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เริ่มก่อสร้างในปี ค.ศ. 1922 แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1923 ซึ่งเป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่อันดับที่ 1 ของอังกฤษ

สนามกีฬาเวมบลีย์
ตึกแฝดของสนามเวมบลีย์ (ค.ศ. 2002)
แผนที่
ชื่อเดิมเอ็มไพร์สเตเดียม
British Empire Exhibition Stadium
ที่ตั้งเวมบลีย์ ประเทศอังกฤษ
พิกัด51°33′20″N 0°16′47″W / 51.55556°N 0.27972°W / 51.55556; -0.27972
เจ้าของบริษัทเวมบลีย์
ความจุ82,000 (ความจุยืนเดิมอยู่ที่ 125,000 คน และต่อมาเพิ่มเป็น 100,000 คน ก่อนที่จะปรับให้เป็นแบบนั่งทั้งหมดใน ค.ศ. 1990)
สถิติผู้ชม126,047 (โบลตันวอนเดอเรอส์ vs เวสต์แฮมยูไนเต็ดเอฟเอคัพ นัดชิงชนะเลิศ 1923)
พื้นผิวหญ้าและทางเดิน
การก่อสร้าง
ลงเสาเข็ม1922; 102 ปีที่แล้ว (1922)
เปิดใช้สนาม28 เมษายน 1923; 101 ปีก่อน (1923-04-28)
ปรับปรุง1963; 61 ปีที่แล้ว (1963)
ปิด7 ตุลาคม 2000; 24 ปีก่อน (2000-10-07)
ทำลายค.ศ. 2002–2003
สร้างใหม่แทนที่ด้วยสนามกีฬาเวมบลีย์ใหม่ใน ค.ศ. 2007
งบประมาณในการก่อสร้าง750,000 ปอนด์ (49.81 ล้านปอนด์ใน ค.ศ. 2023)
สถาปนิกเซอร์ จอห์น วิลเลียม ซิมป์สันและแม็กซ์เวลล์ ไอร์ตัน
เซอร์ โอเวน วิลเลียมส์ (วิศวกร)
การใช้งาน
ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ (1923–2000)
ทีมสปีดเวย์เวมบลีย์ไลออนส์
(1946–1957, 1970–1971)
รักบี้ยูเนียนทีมชาติเวลส์ (1997–1999)
อาร์เซนอล (ยูฟ่า, 1998–2000)
ลอนดอนมอนาร์กส์ (1991–1992)
เลย์ตัน โอเรียนท์ (1930)
อาร์โกนอตส์ (1928–1930)[1]

ในปี ค.ศ. 1948 สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามกีฬาหลักของกีฬาโอลิมปิก ครั้งที่ 14 ที่อังกฤษเป็นเจ้าภาพ ในปี ค.ศ. 1948 สนามกีฬาแห่งนี้เป็นสนามกีฬาหลักของ ฟุตบอลโลก 1966 ใช้ในการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มจนถึงรอบชิงชนะเลิศ

อ้างอิง

แก้
  1. Twydell, Dave (5 November 2001). Denied F.C.: The Football League Election Struggles. Harefield: Yore Publications. pp. 30–31. ISBN 1-85983-512-0.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้