สถานีสิรินธร
สถานีสิรินธร (อังกฤษ: Sirindhorn Station, รหัส BL06) เป็นสถานีรถไฟฟ้าแบบยกระดับ ในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนจรัญสนิทวงศ์ กรุงเทพมหานคร ติดกับถนนสิรินธร ตัวสถานีตั้งอยู่ใกล้กับแยกบางพลัด[2]
สิรินธร BL06 Sirindhorn | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BEM) | ||||||||||
สาย | สายสีน้ำเงิน | ||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | BL06 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1] | ||||||||||
ผู้โดยสาร | |||||||||||
2564 | 840,157 | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
| |||||||||||
|
แผนผังสถานี
แก้U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 2 | สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า ท่าพระ | |
ชานชาลา 1 | สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า หลักสอง (ผ่าน บางซื่อ) | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสารและนักท่องเที่ยว, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า |
G ระดับถนน |
- | ป้ายรถประจำทาง, สำนักงานเขตบางพลัด |
รายละเอียดสถานี
แก้สัญลักษณ์ของสถานี
แก้ใช้สีน้ำเงินตกแต่งบริเวณเสาสถานี, ประตูกั้นชานชาลา, ทางขึ้น-ลงสถานี และป้ายบอกทางต่างๆ ในสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ส่วนหลังคาใช้สีเทาเพื่อสื่อว่าเป็นสถานีรายทาง
รูปแบบของสถานี
แก้เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform) มีประตูกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง (Half Height Platform Screen Doors : HHPSDs)
ทางเข้า-ออกสถานี
แก้- 1 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 64 (ลิฟต์, บันไดเลื่อน)
- 2A ซอยจรัญสนิทวงศ์ 56
- 2B สำนักงานที่ดินบางกอกน้อย (บันไดเลื่อน)
- 3A ซอยสิรินธร 1 (ลิฟต์, บันไดเลื่อน)
- 3B ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 (บันไดเลื่อน / เฉพาะทางเข้า)
- 3C ซอยจรัญสนิทวงศ์ 69, โรงเรียนพิมลวิทย์
- 3D ซอยจรัญสนิทวงศ์ 66/1
- 3E ถนนสิรินธร (สะพานกรุงธน) (บันไดเลื่อน / เฉพาะทางเข้า)
- 3F ถนนสิรินธร (แยกบางพลัด), โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์
การจัดพื้นที่ในตัวสถานี
แก้แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย
- 3 ชั้นชานชาลา (Platform level)
- 2 ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร, เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
- 1 ชั้นระดับถนน (Ground level)
เวลาให้บริการ
แก้ปลายทาง | วัน | ขบวนแรก | ขบวนสุดท้าย | |||
---|---|---|---|---|---|---|
สายสีน้ำเงิน[3] | ||||||
ชานชาลาที่ 1 | ||||||
BL38 | หลักสอง (ผ่านบางซื่อ) |
จันทร์ - ศุกร์ | 05:47 | 23:22 | ||
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ |
05:59 | 23:22 | ||||
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง | - | 23:13 | ||||
ชานชาลาที่ 2 | ||||||
BL01 | ท่าพระ | จันทร์ - ศุกร์ | 05:47 | 00:15 | ||
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ |
05:59 | 00:15 |
รถโดยสารประจำทาง
แก้ถนนจรัญสนิทวงศ์ (มุ่งหน้าสะพานพระราม 7)
แก้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
แก้สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
18 (2) | ตลาดท่าอิฐ | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง | ขสมก. |
- ถนนจรัญสนิทวงศ์ (มุ่งหน้าสะพานพระราม 7) : รถขสมก. สาย 18 รถเอกชน สาย 110 170 175 และ 203
ถนนจรัญสนิทวงศ์ (มุ่งหน้าบางยี่ขัน)
แก้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
แก้สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
66 (1) | ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) |
ขสมก. | ||
208 (3) | วงกลม: ตลิ่งชัน | อรุณอัมรินทร์ | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง |
- ถนนจรัญสนิทวงศ์ (มุ่งหน้าบางยี่ขัน) : รถขสมก. สาย 66 และ 208 รถเอกชน สาย 28 56 108 170 175 และ 203
ถนนราชวิถี (มุ่งหน้าสะพานกรุงธนบุรี (ซังฮี้))
แก้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
แก้สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
18 (2) | ตลาดท่าอิฐ | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง | ขสมก. | ||
66 (1) | ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) |
|||
515 (3) | เซ็นทรัลศาลายา | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) |
- ถนนราชวิถี (มุ่งหน้าสะพานกรุงเทพ (ซังฮี้)) : รถขสมก. สาย 18 66 และ 515 รถเอกชน สาย 28 56 110 และ 539
ถนนสิรินธร (มุ่งหน้าถนนบรมราชชนนี)
แก้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
แก้สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
208 (3) | วงกลม: ตลิ่งชัน | อรุณอัมรินทร์ | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง | ขสมก. | ||
515 (3) | เซ็นทรัลศาลายา | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) |
ระเบียงภาพ
แก้-
แยกบางพลัดก่อนถึงสถานี
-
ชั้นจำหน่ายออกบัตรโดยสาร
-
สะพาน Bowstring ข้ามแยกบางพลัดเข้าสู่สถานี
-
ป้ายข้อมูลเส้นทางบริเวณชานชาลา
-
ชานชาลาฝั่งไปเตาปูน มองไปยังสถานีบางยี่ขัน
-
ชานชาลาฝั่งไปเตาปูน มองไปยังสถานีบางพลัด
-
ทัศนียภาพนอกสถานี
-
ทางออก 1
-
ทางออก 2A
-
ทางเข้า 3
-
ทางออก 3C
-
ทางออก 3F
อ้างอิง
แก้- ↑ Sriyananda Selley, Dhipkawee. "MRT Blue Line extension through Chinatown to launch free test rides in July". BK. Asia City Online. สืบค้นเมื่อ 15 August 2019.
- ↑ "MRT เปิดทดลองฟรี! 4สถานี 4ธันวา" (Press release). 2019-12-04. สืบค้นเมื่อ 2019-12-05.
- ↑ "รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ตารางเดินรถไฟฟ้า". www.mrta.co.th.
- ↑ Nakorn, Khon-it (วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562). "รวมข้อมูลรถตู้โดยสารประจำทางทั่วประเทศ: รถโดยสารหมวด 4 ในกรุงเทพมหานคร (รถโดยสารขนาดเล็กร่วมบริการ ขสมก.) (ลงเพื่อทำฐานข้อมูลเท่านั้น)". รวมข้อมูลรถตู้โดยสารประจำทางทั่วประเทศ.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ "สองแถวแดง สาย 1416 (วัดชลอ - จรัญสนิทวงศ์ 65) Songthaew 1416 (WAT Chalo - Charansanitwong 65)". สองแถวแดง สาย 1416 (วัดชลอ - จรัญสนิทวงศ์ 65) Songthaew 1416 (WAT Chalo - Charansanitwong 65).