สถานีศรีอุดม (อังกฤษ: Si Udom station; รหัส: YL16) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีเหลือง ยกระดับเหนือถนนศรีนครินทร์ในพื้นที่เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร[2]

ศรีอุดม
YL16

Si Udom
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนศรีนครินทร์ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°40′35″N 100°38′46″E / 13.67639°N 100.64611°E / 13.67639; 100.64611
เจ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ผู้ให้บริการอีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล (อีบีเอ็ม)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีYL16
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ3 กรกฎาคม พ.ศ. 2566; 9 เดือนก่อน (2566-07-03)[1]
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้ามหานคร สถานีต่อไป
สวนหลวง ร.9
มุ่งหน้า ลาดพร้าว
สายสีเหลือง ศรีเอี่ยม
มุ่งหน้า สำโรง
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง แก้

สถานีศรีอุดมตั้งอยู่เหนือถนนศรีนครินทร์ ทางทิศใต้ของทางแยกศรีอุดมหรือทางแยกหนองบอน (จุดตัดระหว่างถนนศรีนครินทร์ ถนนอุดมสุข และถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9) ในพื้นที่แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร[3]

รายละเอียด แก้

สีสัญลักษณ์ แก้

ใช้สีเหลืองตกแต่งสถานีเพื่อสื่อให้เห็นว่าเป็นสถานีของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รูปแบบ แก้

เป็นสถานียกระดับ มีชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง[4]

ทางเข้า–ออก แก้

ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่[5]

  • 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9, โรงพยาบาลสินแพทย์ ศรีนครินทร์ (ลิฟต์)
  • 2 ซอยศรีนครินทร์ 63 (บันไดเลื่อน)
  • 3 ซอยศรีนครินทร์ 58 (บันไดเลื่อน)
  • 4 ถนนอุดมสุข (ลิฟต์)

แผนผัง แก้

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสีเหลือง มุ่งหน้า สำโรง (ศรีเอี่ยม)
ชานชาลา 2 สายสีเหลือง มุ่งหน้า ลาดพร้าว (สวนหลวง ร.9)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1–4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
G
ระดับถนน
ป้ายรถประจำทาง

สถานที่ใกล้เคียง แก้

  • โรงพยาบาลสินแพทย์ ศรีนครินทร์

รถโดยสารประจำทาง แก้

ถนนศรีนครินทร์ แก้

  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ แก้

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
11 (3)   เมกาบางนา เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) ขสมก.
145 (3) อู่แพรกษาบ่อดิน   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

  เมกาบางนา 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
206 (3) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

3-21 (207) (3) มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง
3-26E   (3) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถเอกชน แก้

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
48 (3-11)   มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 วัดโพธิ์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
133 (3-15)   เคหะบางพลี   บีทีเอสเอกมัย บจก.สันติมิตรขนส่ง
(เครือไทยสมายล์บัส)
3-27     ท่าน้ำปู่เจ้าสมิงพราย สวนสยาม บจก.ไทยสมายล์บัส
3-34   บางนา นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง บจก.เอ็กซา โลจิสติกส์
(เครือไทยสมายล์บัส)

อ้างอิง แก้

  1. Limited, Bangkok Post Public Company. "Prayut tries out Bangkok's new monorail". Bangkok Post (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-06-19.
  2. "3 มิ.ย.นี้ เปิดทดลองรถไฟฟ้า "สีเหลือง" 13 สถานี "สำโรง-หัวหมาก"".
  3. "รฟม. ขยายเส้นทางเปิดทดสอบการเดินรถเสมือนจริง (Trial Run) รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน นี้ เป็นต้นไป จากสถานีภาวนา ถึง สถานีสำโรง ระหว่างเวลา 06.00 น. – 20.00 น." www.mrta.co.th. สืบค้นเมื่อ 2023-06-09.
  4. "โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง". MRTA Official Website. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-16.
  5. "อัพเดตความคืบหน้า รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ! 2566". The List.