สถานีรามอินทรา กม.4
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
สถานีรามอินทรา กม.4 (อังกฤษ: Ram Inthra Kor Mor 4 station; รหัส: PK19) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีชมพู โดยยกระดับเหนือถนนรามอินทราในพื้นที่เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
รามอินทรา กม.4 PK19 Ram Inthra Kor Mor 4 | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนรามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
พิกัด | 13°51′30″N 100°37′34″E / 13.85833°N 100.62611°E | ||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล (เอ็นบีเอ็ม) | ||||||||||
สาย | |||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | PK19 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 7 มกราคม พ.ศ. 2567 | ||||||||||
ชื่อเดิม | รามอินทรา 31 | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
| |||||||||||
|
ที่ตั้ง
แก้สถานีรามอินทรา กม.4 ตั้งอยู่เหนือถนนรามอินทรา บริเวณปากซอยรามอินทรา 33 (ยอดยิ่ง) ซอยรามอินทรา 35 (อุ่นจิตร 1) และซอยรามอินทรา 37 (อุ่นจิตร 2) ในพื้นที่แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
รายละเอียด
แก้สีสัญลักษณ์
แก้ใช้สีชมพูตกแต่งสถานีเพื่อสื่อให้เห็นว่าเป็นสถานีของโครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู
รูปแบบ
แก้เป็นสถานียกระดับ มีชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชั้นชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง
-
เครื่องตรวจตั๋วอัตโนมัติ
-
ชานชาลาสถานี
-
ป้ายชานชาลา 1
ทางเข้า–ออก
แก้ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่
- 1 ซอยรามอินทรา 33 (ยอดยิ่ง), ซอยรามอินทรา 35 (อุ่นจิตร 1)
- 2 ซอยรามอินทรา 37 (อุ่นจิตร 2), ตลาดปั้นทอง กม.4 (มงคลไชย)
- 3 ซอยรามอินทรา 10 (ชื่นฤทัย)
- 4 ซอยรามอินทรา 8 (วัดไตรรัตนาราม)
แผนผัง
แก้U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 1 | สายสีชมพู มุ่งหน้า มีนบุรี | |
ชานชาลา 2 | สายสีชมพู มุ่งหน้า ศูนย์ราชการนนทบุรี | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก 1–4, ศูนย์บริการผู้โดยสาร ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร |
G ระดับถนน |
– | ป้ายรถประจำทาง, ถนนรามอินทรา |
เวลาให้บริการ
แก้ปลายทาง | เชื่อมต่อ | ขบวนแรก | ขบวนสุดท้าย | |
---|---|---|---|---|
สายสีชมพู[1][2] | ||||
ชานชาลาที่ 1 | ||||
PK30 | มีนบุรี | เต็มระยะ | 05.41 | 00.43 |
ชานชาลาที่ 2 | ||||
PK01 | ศูนย์ราชการนนทบุรี | เต็มระยะ | 05.34 | 00.24 |
PK01 สายสีม่วง (คลองบางไผ่) | – | 22.54 | ||
PK01 สายสีม่วง (เตาปูน) | – | 22.24 | ||
PK14 สายสีแดงเข้ม | – | 23.44 | ||
PK16 สายสุขุมวิท (คูคต) | – | 00.14 | ||
PK16 สายสุขุมวิท (เคหะฯ) | – | 23.14 |
สถานที่ใกล้เคียง
แก้- ตลาดปั้นทอง กม.4 (มงคลไชย)
- ฟู้ดแลนด์ รามอินทรา
- ไดนาสตี้ ไทล์ท้อป รามอินทรา
รถโดยสารประจำทาง
แก้องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
แก้สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
26 | 2 (กปด.12) |
อู่มีนบุรี | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | |
26 | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) งดให้บริการชั่วคราว ใช้รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงินให้บริการทดแทน | ||||
95 | 1 (กปด.11) |
อู่บางเขน | บางกะปิ | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||
95 | อู่บางเขน | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | |||
95ก | 1 (กปด.31) |
อู่รังสิต | บางกะปิ | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||
95ก | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) งดให้บริการชั่วคราว | ||||
520 | 2 (กปด.12) |
อู่มีนบุรี | ตลาดไท | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | มีรถให้บริการน้อย |
รถเอกชน
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู". 2023-12-28.
- ↑ "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพูขบวนสุดท้าย - ข่าวรถไฟ". 2023-12-28.