รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้
บทความต่อไปนี้เป็นรายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายใต้
รายชื่อสถานีรถไฟในเส้นทางสายใต้
แก้ทางรถไฟสายใต้ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
รถเร็วจะหยุดเป็นบางสถานี รถด่วนและด่วนพิเศษ จะหยุดห่างขึ้นตามศักดิ์ของขบวน
หมายเหตุ : ที่หยุดรถ หมายถึง สถานีรถไฟที่ไม่มีอาคารสถานีและนายสถานีประจำ แต่อาจมีที่พักผู้โดยสารและที่ขายตั๋วแบบไม่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจถูกยุบเลิกหรือตั้งใหม่ได้ ที่หยุดรถบางที่อาจไม่มีรถหยุดเลยแม้แต่รถธรรมดา สำหรับสถานีทุกแห่ง รถธรรมดาจะหยุดทุกสถานี
กรุงเทพ (หัวลำโพง)—ชุมทางบางซื่อ—ชุมทางตลิ่งชัน (กท.—บซ.—ตช.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
กรุงเทพ - ชุมทางบางซื่อ - ชุมทางตลิ่งชัน | ||||||||
กรุงเทพ | 1001 | กท. | 0 กม. | พิเศษ | รองเมือง | ปทุมวัน | กรุงเทพมหานคร |
เริ่มต้นทางรถไฟสายชานเมืองที่สถานีนี้ ออกจากสถานีเป็นทางสาม ทางทีหนึ่งและสองเป็นทางสำหรับสายใต้ สายเหนือ และสายตะวันออกเฉียงเหนือ ทางที่สามเป็นทางสำหรับไปสายแม่น้ำและสายตะวันออก (สายแปดริ้ว) จากสายตะวันออกมีทางแยกเฉพาะรถสินค้าไปสายตะวันออกเฉียงเหนือได้ ผ่านทางชุมทางคลองสิบเก้าจนถึงชุมทางแก่งคอย ซึ่งในบางครั้งจะมีรถโดยสารเดินเมื่อทางสายเหนือไม่สามารถเดินรถได้ |
ยมราช | 1002 | ยช. | 2.17 กม. | ป้ายหยุดรถ | ทุ่งพญาไท | ราชเทวี |
| |
จิตรลดา | 1003 | จล. | 3.29 กม. | พิเศษ (เขตพระราชฐาน) | สวนจิตรลดา | ดุสิต |
รถไฟโดยสารจะไม่หยุดรับส่งที่สถานีจิตรลดา ด้วยเป็นเขตพระราชฐานและสถานีเฉพาะ ซึ่งในบริเวณใกล้เคียงนั้น การรถไฟฯได้เปิดใช้“ป้ายหยุดรถโรงพยาบาลรามาธิบดี (รธ.)” ขึ้นมา และมีขบวนรถชานเมืองหยุดรับส่งผู้โดยสาร รวมถึงขบวนรถธรรมดาบางขบวน ถึงแม้ว่าป้ายหยุดรถโรงพยาบาลรามาธิบดี และสถานีจิตรลดาจะอยู่พื้นที่เดียวกัน แต่ก็ถือว่าเป็นคนละสถานี | |
โรงพยาบาลรามาธิบดี | 1232 | รธ. | 3.30 กม. | ป้ายหยุดรถ | ทุ่งพญาไท | ราชเทวี |
เปิดขึ้นมาในพื้นที่ใกล้เคียงกับสถานีจิตรลดา ซึ่งผู้โดยสารกลุ่มหลักคือเจ้าหน้าที่,คนไข้ของโรงพยาบาล และ คณะแพทยศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | |
สามเสน | 1004 | สส. | 4.80 กม. | 1 | ถนนนครไชยศรี | ดุสิต | ||
สามเสนใน | พญาไท | |||||||
ชุมทางบางซื่อ | 1007 | บซ. | 7.47 กม. | 1 | บางซื่อ | บางซื่อ |
มีทางแยกไปสายใต้ ไปยังสถานีบางบำหรุ (บำ.) และมีทางแยกไปย่านสินค้าพหลโยธิน | |
บางซ่อน | 4006 | ซอ. | 12.90 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||
บางบำหรุ | 4005 | บำ. | 17.94 กม. | 1 | บางพลัด | บางพลัด |
เมื่อออกจากสถานีกลางกรุงเทพฯ รถไฟจะวิ่งบนทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางไปยังสถานีบางซ่อนต้องเปลี่ยนไปใช้สายสีแดงอ่อน ที่สถานีนี้แทน | |
ชุมทางตลิ่งชัน | 4004 | ตช. | 22.13 กม. | 1 | ตลิ่งชัน | ตลิ่งชัน | ทางรถไฟจากสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อและทางรถไฟจากสถานีรถไฟธนบุรีมาบรรจบกันที่สถานีแห่งนี้ *จำนวนย่ายและชานชลาไม่รวมสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีแดง |
กรุงเทพอภิวัฒน์ (บางซื่อ)—ชุมทางตลิ่งชัน (กภ.—ตช.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
กลางกรุงเทพอภิวัฒน์ - บางบำหรุ - ชุมทางตลิ่งชัน | ||||||||
กรุงเทพอภิวัฒน์ | 1000 | กภ. | 7.833 กม. | พิเศษ | จตุจักร | จตุจักร | กรุงเทพมหานคร |
เริ่มต้นทางรถไฟสายใต้ที่สถานีนี้ ที่ชานชาลาหมายเลข 7 และ 8 |
บางบำหรุ | 4005 | บำ. | 17.94 กม. | 1 | บางพลัด | บางพลัด |
เมื่อออกจากสถานีกลางกรุงเทพฯ รถไฟจะวิ่งบนทางรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน ผู้โดยสารที่ต้องการเดินทางไปยังสถานีบางซ่อนต้องเปลี่ยนไปใช้สายสีแดงอ่อน ที่สถานีนี้แทน | |
ชุมทางตลิ่งชัน | 4004 | ตช. | 22.13 กม. | 1 | ตลิ่งชัน | ตลิ่งชัน | ทางรถไฟจากสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อและทางรถไฟจากสถานีรถไฟธนบุรีมาบรรจบกันที่สถานีแห่งนี้ *จำนวนย่ายและชานชลาไม่รวมสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีแดง |
ธนบุรี—สุไหงโก-ลก (ธบ.—โล.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก ธบ. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ธนบุรี - สุไหงโก-ลก | ||||||||
ธนบุรี (เดิม) | 4001 | ธบ. | 0.00 กม. | 1 | ศิริราช | บางกอกน้อย | กรุงเทพมหานคร | ยกเลิกการใช้งานเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2546 เนื่องจากมอบพื้นที่ให้กับโรงพยาบาลศิริราช[1] และเปลี่ยนให้สถานีบางกอกน้อยเป็นสถานีต้นทาง-ปลายทางของขบวนรถแทนสถานีธนบุรี *ปัจจุบันเหลือแต่อาคารสถานี และกลายเป็นพิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน ของโรงพยาบาลศิริราช และมิใช่ทรัพย์สินของ รฟท. อีกต่อไป |
ธนบุรี | 4002 | ธบ. | 0.866 กม. | 1 | เดิมคือสถานี "บางกอกน้อย" โดยยุบเลิกชื่อสถานี,ชื่อภาษาอังกฤษ,ตัวย่อ และเลขรหัส และเปลี่ยนชื่อเป็นสถานี "ธนบุรี" ในวันที่ 1 มกราคม 2547[2] เริ่มต้นทางรถไฟสายใต้จากสถานีธนบุรีที่สถานีนี้ ออกจากสถานีเป็นทางเดี่ยว นอกจากนี้ในบางครั้งจะมีกองถ่ายละครโทรทัศน์จะมาถ่ายทำฉากละครโดยใช้รถจักรไอน้ำที่สถานีแห่งนี้ และเป็นต้นทางสำหรับขบวนรถพิเศษทดสอบรถจักรไอน้ำในบางครั้งทางโรงรถจักรธนบุรีจะส่งรถจักรไอน้ำเพื่อทำการทดสอบระบบต่างๆของรถจักรไอน้ำทุกคันไปจนถึงสถานีรถไฟวัดงิ้วราย จังหวัดนครปฐม ฝ่ายการช่างโยธา
| |||
จรัญสนิทวงศ์ | 4434 | รว. | 1.54 กม. | ป้ายหยุดรถ | บางขุนนนท์ | สามารถเดินทางต่อไปยังรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (เฉลิมรัชมงคล) ที่สถานีบางขุนนท์ BL04 เขตแขวงศิริราชและแขวงบางขุนนนท์ ใช้กึ่งกลางของถนนจรัญสนิทวงศ์แบ่งเขต ที่หยุดรถจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนโดยฝั่งไปชุมทางตลิ่งชันอยู่ในเขตแขวงบางขุนนนท์ ที่หยุดรถฝั่งไปสถานีธนบุรีอยู่ในเขตแขวงศิริราช[3] | ||
บางระมาด | 4003 | รม. | 4.29 กม. | ที่หยุดรถ | ตลิ่งชัน | ตลิ่งชัน | ||
ชุมทางตลิ่งชัน | 4004 | ตช. | 6.08 กม. | 1 | แขวงตลิ่งชัน และแขวงฉิมพลี ใช้ทางรถไฟสายใต้แบ่งเขต ฝั่งอาคารสถานีอยู่ในเขตแขวงตลิ่งชัน ส่วนฝั่งทางหลีก (เดิม) อยู่ในเขตแขวงฉิมพลี[4] *ตั้งแต่สถานีชุมทางตลิ่งชันเป็นต้นไป ระยะทางจากสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) ให้บวก 16.05 กม. **จำนวนย่านและชานชลาไม่รวมสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีแดง | |||
บ้านฉิมพลี | 4007 | ฉพ. | 8.64 กม. | ที่หยุดรถ | ฉิมพลี | |||
พุทธมณฑล สาย 2 | 4442 | ทล. | 11.47 กม. | ที่หยุดรถ | ศาลาธรรมสพน์ | ทวีวัฒนา | ||
ศาลาธรรมสพน์ | 4008 | ทพ. | 14.05 กม. | 3 | ||||
ศาลายา | 4009 | ลย. | 19.06 กม. | 1 | ศาลายา | พุทธมณฑล | นครปฐม | ฝ่ายการช่างโยธา
|
วัดสุวรรณ | 4010 | สุ. | 23.46 กม. | 3 | มหาสวัสดิ์ | |||
คลองมหาสวัสดิ์ | 4011 | มว. | 27.05 กม. | ที่หยุดรถ |
เคยเป็นสถานี ปัจจุบันลดระดับเป็นที่หยุดรถแล้ว , ยังคงอาคารสถานีไว้ดังเดิม | |||
วัดงิ้วราย | 4012 | งร. | 30.80 กม. | 2 | งิ้วราย | นครชัยศรี |
เป็นปลายทางของขบวนรถพิเศษทดสอบรถจักรไอน้ำที่ทางโรงรถจักรธนบุรีส่งมาทดสอบในบางครั้งถึงสถานีแห่งนี้ | |
นครชัยศรี | 4013 | รช. | 35.13 กม. | 2 | วัดแค |
| ||
ท่าแฉลบ | 4014 | ฉล. | 40.02 กม. | 3 | ศีรษะทอง | |||
ต้นสำโรง | 4015 | โร. | 44.70 กม. | 3 | บ่อพลับ | เมืองนครปฐม |
เดิมอยู่ในเขตเทศบาลตำบลธรรมศาลา ตำบลธรรมศาลา[5] ต่อมาเมื่อมีการสร้างทางคู่ จึงย้ายมาสร้างใหม่ในพื้นที่เขตเทศบาลนครนครปฐม ตำบลบ่อพลับ[6] อยู่บริเวณกรมการสัตว์ทหารบก (ค่ายทองฑีฆายุ) | |
นครปฐม | 4016 | คฐ. | 48.12 กม. | 1 | พระปฐมเจดีย์ | ปลายทางของขบวนพิเศษทำเที่ยวรถจักรไอน้ำขบวนที่ 907 กรุงเทพ-นครปฐม และเป็นต้นทางของขบวนพิเศษทำเที่ยวรถจักรไอน้ำขบวนที่ 908 นครปฐม-กรุงเทพ ของวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และเป็นสถานีสุดท้ายที่ควบคุมประแจด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ต่อจากนี้ใช้ระบบควบคุมด้วยเครื่องกลสายลวด
| ||
พระราชวังสนามจันทร์ | 4017 | สจ. | 50.13 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
โพรงมะเดื่อ | 4018 | พด. | 55.36 กม. | 3 | โพรงมะเดื่อ | |||
คลองบางตาล | 4019 | บา. | 58.97 กม. | 3 | หนองกบ | บ้านโป่ง | ราชบุรี | |
ชุมทางหนองปลาดุก | 4020 | ปด. | 64.19 กม. | 2 |
เป็นชุมทางที่แยกไปทางรถไฟสายสุพรรณบุรี ระยะทาง 78 กิโลเมตรและทางรถไฟสายมรณะ ซึ่งเป็นต้นทางอดีตทางรถไฟสายมรณะมีความยาวจากหนองปลาดุกถึงสถานีตาน-พยูซะยะ รวม 415 กิโลเมตร ปัจจุบันเส้นทางนี้ไปสุดปลายทางที่ป้ายหยุดรถไฟน้ำตกไทรโยคน้อย | |||
บ้านโป่ง | 4079 | โป. | 68.22 กม. | 1 | บ้านโป่ง |
| ||
นครชุมน์ | 4081 | นช. | 73.69 กม. | 3 | นครชุมน์ | |||
คลองตาคด | 4082 | ตค. | 77.29 กม. | 3 | คลองตาคต | โพธาราม | ||
โพธาราม | 4083 | พร. | 81.80 กม. | 2 | โพธาราม | |||
เจ็ดเสมียน | 4085 | จม. | 88.87 กม. | 3 | เจ็ดเสมียน | |||
บ้านกล้วย | 4087 | าก. | 94.64 กม. | 3 | ท่าราบ | เมืองราชบุรี | ||
สะพานจุฬาลงกรณ์ | 4088 | จา. | 100.29 กม. | ที่หยุดรถ | หน้าเมือง | |||
ราชบุรี | 4089 | รร. | 101.31 กม. | 1 |
| |||
บ้านคูบัว | 4090 | บบ. | 105.46 กม. | 3 | คูบัว | |||
บ่อตะคร้อ | 4091 | บร. | 111.20 กม. | 3 | บ่อกระดาน | ปากท่อ | ||
บ้านป่าไก่ | 4092 | ไป. |
114.50 กม. | ที่หยุดรถ | ป่าไก่ | |||
ปากท่อ | 4093 | ปท. | 118.62 กม. | 2 | ปากท่อ |
| ||
ห้วยโรง | 4094 | โง. | 122.77 กม. | ที่หยุดรถ | วังมะนาว | |||
บางเค็ม | 4095 | งเ. | 127.18 กม. | 3 | บางเค็ม | เขาย้อย | เพชรบุรี | ถนนสายวัดกุฏิ – สถานีรถไฟบางเค็ม เป็นเส้นแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านเหนือ เป็นเขตตำบลห้วยโรง อาคารสถานีจากจุดกึ่งกลางนับไปทางด้านใต้ เป็นเขตตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี[7] ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตตำบลยี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีเขตตามประกาศจัดตั้งสุขาภิบาลเขาย้อย[8] และประกาศกำหนดเขตตำบลในอำเภออัมพวา พ.ศ. 2543[9] |
ห้วยโรง | ||||||||
เขาย้อย | 4097 | เข. | 133.77 กม. | 3 | เขาย้อย |
อาคารสถานีอยู่เขตตำบลเขาย้อย อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี[10] ส่วนเสาอาณัติสัญญาณและประแจทางเหนืออยู่เขตตำบลยี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม | ||
หนองปลาไหล | 4098 | ปล. | 139.44 กม. | 3 | หนองปลาไหล | |||
บางจาก | 4099 | จก. | 143.90 กม. | 3 | บางจาก | เมืองเพชรบุรี | ||
เพชรบุรี | 4101 | พบ. | 150.49 กม. | 1 | คลองกระแชง |
| ||
เขาทโมน | 4104 | โม. | 160.32 กม. | 3 | ดอนยาง |
เคยมีทางแยกเพื่อขนหินจากเขาทโมน ปัจจุบันเลิกการใช้งานแล้ว | ||
หนองไม้เหลือง | 4105 | นม. | 164.21 กม. | 3 | หนองกระเจ็ด | บ้านลาด |
อาคารสถานีอยู่ในเขตหมู่ 8 บ้านร่วมใจพัฒนา ตำบลหนองกระเจ็ด อำเภอบ้านลาด[11] ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 11 บ้านหนองไม้เหลือง ตำบลดอนยาง อำเภอเมืองเพชรบุรี | |
หนองจอก | 4107 | หจ. | 169.90 กม. | 3 | หนองจอก | ท่ายาง | ||
หนองศาลา | 4108 | งา. | 175.40 กม. | 3 | หนองศาลา | ชะอำ |
สถานีอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 6 บ้านสถานี ตำบลหนองศาลา[12] | |
ชะอำ | 4111 | ชอ. | 187.06 กม. | 2 | ชะอำ |
| ||
ห้วยทรายเหนือ | 4114 | ซน. | 197.86 กม. | 3 | ||||
ห้วยทรายใต้ | 4115 | ซใ. | 201.64 กม. | 3 | ||||
หัวหิน | 4118 | หห. | 212.99 กม. | 1 | หัวหิน | หัวหิน | ประจวบคีรีขันธ์ | สถานีรถไฟชั้น 1 ยกระดับ
|
หนองแก | 4119 | นอ. | 216.96 กม. | 3 | หนองแก | |||
สวนสนประดิพัทธ์ | 4120 | สป. | 220.73 กม. | 2 |
มีขบวนรถท่องเที่ยว 911/912 กท.- สป.- กท. หยุดรับ-ส่ง ทุกวันเสาร์-อาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์ อยู่ใกล้กับหาดสวนสนประดิพัทธ์และอุทยานราชภักดิ์ | |||
เขาเต่า | 4121 | ขต. | 225.04 กม. | 3 | ||||
วังก์พง | 4123 | วพ. | 232.85 กม. | 2 | วังก์พง | ปราณบุรี | ศูนย์การทหารราบลงสถานีนี้
| |
ปราณบุรี | 4124 | ปน. | 235.85 กม. | 2 | ปราณบุรี |
| ||
ห้วยขวาง | 4125 | ขว. | 241.83 กม. | ที่หยุดรถ | ศิลาลอย | สามร้อยยอด | ||
หนองคาง | 4126 | อค. | 246.94 กม. | 3 | ||||
สามร้อยยอด | 4128 | สย. | 254.99 กม. | 2 | ไร่เก่า |
| ||
สามกระทาย | 4130 | สท. | 261.15 กม. | 3 | สามกระทาย | กุยบุรี |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2525[13] | |
กุยบุรี | 4133 | กย. | 271.33 กม. | 2 | กุยเหนือ | ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 6 บ้านท่าเผือก ตำบลกุยเหนือ[14] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[15] แบ่งเขตกับตำบลกุยบุรี โดยพื้นที่บริเวณทางหลีกอยู่ในหมู่ 1 บ้านกุยบุรี ตำบลกุยบุรี
| ||
บ่อนอก | 4135 | บน. | 278.85 กม. | 3 | บ่อนอก | เมืองประจวบคีรีขันธ์ | ||
ทุ่งมะเม่า | 4138 | มเ. | 288.88 กม. | 3 | อ่าวน้อย |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2525[13] | ||
คั่นกระได | 4140 | กด. | 294.76 กม. | 3 | ||||
ประจวบคีรีขันธ์ | 4142 | จข. | 302.33 กม. | 1 | ประจวบคีรีขันธ์ |
| ||
หนองหิน | 4144 | นห. | 310.37 กม. | ที่หยุดรถ | คลองวาฬ |
เปิดเป็นสถานีในชื่อ "หนองหิน" ในวันที่ 1 ธันวาคม 2458 พร้อมกับการเปิดเดินรถหลวงสายใต้ช่วงประจวบคีรีขันธ์-บ้านกรูด ปัจจุบันยุบเป็นที่หยุดรถ ในโครงการก่อสร้างทางคู่สายใต้[16] | ||
หว้ากอ | 4145 | ห้. | 313.42 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
วังด้วน | 4146 | วด. | 318.22 กม. | 3 | ห้วยทราย |
เดิมเป็นที่หยุดรถ และยกฐานะเป็นสถานีเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2525[13] | ||
ห้วยยาง | 4149 | หย. | 329.07 กม. | 2 | ห้วยยาง | ทับสะแก | ||
ทุ่งประดู่ | 4152 | ทด. | 338.60 กม. | ที่หยุดรถ | ทับสะแก |
เปิดเป็นสถานีในชื่อ "ทุ่งประดู่" ในวันที่ 1 ธันวาคม 2458 พร้อมกับการเปิดเดินรถหลวงสายใต้ช่วงประจวบคีรีขันธ์-บ้านกรูด ปัจจุบันยุบเป็นที่หยุดรถ ในโครงการก่อสร้างทางคู่สายใต้[17] | ||
ทับสะแก | 4153 | สก. | 342.06 กม. | 2 |
| |||
ดอนทราย | 4154 | ดซ. | 347.00 กม. | ที่หยุดรถ | นาหูกวาง |
เปิดเป็นสถานีในชื่อ "บ้านดอนทราย" ในวันที่ 1 ธันวาคม 2458 พร้อมกับการเปิดเดินรถหลวงสายใต้ช่วงประจวบคีรีขันธ์-บ้านกรูด ปัจจุบันยุบเป็นที่หยุดรถ ในโครงการก่อสร้างทางคู่สายใต้[18] | ||
โคกตาหอม | 4156 | โห. | 353.04 กม. | ที่หยุดรถ | อ่างทอง | สถานีตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 9 บ้านโคกตาหอม ตำบลอ่างทอง[19] - ในอนาคตหลังจากสร้างทางคู่เสร็จจะถูกยกระดับเป็นสถานีรถไฟ โดยมีย่าน 4 ทาง | ||
บ้านกรูด | 4158 | กร. | 360.53 กม. | 2 | ธงชัย | บางสะพาน |
| |
หนองมงคล | 4159 | หน. | 365.85 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
นาผักขวง | 4161 | ผข. | 371.04 กม. | 3 | กำเนิดนพคุณ | |||
บางสะพานใหญ่ | 4163 | พญ. | 376.52 กม. | 1 |
| |||
หินกอง | 4164 | หถ. | 383.58 กม. | ที่หยุดรถ | พงศ์ประศาสน์ | |||
ชะม่วง | 4165 | ชว. | 385.92 กม. | 3 | ||||
บางสะพานน้อย | 4167 | พน. | 392.66 กม. | 2 | บางสะพาน | บางสะพานน้อย |
| |
ห้วยสัก | 4169 | ยส. | 399.92 กม. | 3 | ทรายทอง | |||
บ้านทรายทอง | 4170 | ซท. | 404.30 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
เขาไชยราช | 4172 | ขช. | 409.65 กม. | 3 | เขาไชยราช | ปะทิว | ชุมพร | |
มาบอำมฤต | 4175 | มร. | 420.59 กม. | 2 | ดอนยาง |
| ||
บ้านทรัพย์สมบูรณ์ | 4177 | ซส. | 427.66 กม. | ที่หยุดรถ | ชุมโค | |||
คลองวังช้าง | 4178 | คช. | 434.29 กม. | 3 | ||||
ปะทิว | 4179 | ะท. | 439.34 กม. | 2 | ทะเลทรัพย์ | ตำบลทะเลทรัพย์และตำบลบางสนใช้กึ่งกลางทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต พื้นที่สถานีอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 3 บ้านห้วยหลุด ตำบลทะเลทรัพย์[20] ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 7 บ้านบางสน ตำบลบางสน เขตเทศบาลตำบลปะทิว[21][22]
| ||
บ้านคอกม้า | 4181 | คา. | 447.46 กม. | 3 | บางสน | |||
สะพลี | 4182 | สี. | 453.80 กม. | 3 | สะพลี | |||
หนองเนียน | 4183 | งน. | 458.38 กม. | ที่หยุดรถ | บางลึก | เมืองชุมพร | ||
นาชะอัง | 4184 | ชง. | 463.20 กม. | 3 | นาชะอัง | |||
ชุมพร | 4186 | ชพ. | 468.53 กม. | 1 | ท่าตะเภา | สุดเขตทางคู่ เริ่มทางเดี่ยว เคยมีทางแยกไปสถานีรถไฟเขาฝาชี ของทางรถไฟสายคอคอดกระ ปัจจุบันยกเลิกการใช้งานแล้ว | ||
แสงแดด | 4187 | สด. | 472.54 กม. | 3 | ตากแดด | |||
ทุ่งคา | 4189 | ทค. | 480.91 กม. | 3 | ทุ่งคา | |||
วิสัย | 4191 | ไส. | 489.97 กม. | 3 | วิสัยเหนือ | |||
บ้านครน | 4192 | คร. | 495.75 กม. | ที่หยุดรถ | ครน | สวี | ||
สวี | 4194 | ะว. | 500.76 กม. | 2 | นาโพธิ์ |
| ||
เขาสวนทุเรียน | 4196 | ขร. | 508.51 กม. | 3 | เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกในวันที่ 21 สิงหาคม 2497[23] ตำบลนาโพธิ์และตำบลนาสักใช้กึ่งกลางทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต อาคารสถานีอยู่ในเขตหมู่ 3 บ้านเขาสวนทุเรียน ตำบลนาโพธิ์[24][25] ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตนาสัก | |||
เขาปีบ | 4197 | ขป. | 512.02 กม. | ที่หยุดรถ | ทุ่งตะไคร | ทุ่งตะโก | ||
ปากตะโก | 4199 | ตก. | 516.81 กม. | 2 | ||||
ท่าทอง | 4200 | ทอ. | 522.35 กม. | ที่หยุดรถ | ตะโก | |||
ควนหินมุ้ย | 4201 | มย. | 526.08 กม. | 3 | นาขา | หลังสวน | ||
หลังสวน | 4203 | งส. | 533.30 กม. | 1 | หลังสวน |
| ||
คลองขนาน | 4205 | คข. | 541.03 กม. | 3 | บ้านควน | |||
หัวมาด | 4206 | มั. | 546.53 กม. | ที่หยุดรถ | ทุ่งหลวง | ละแม | ||
ละแม | 4208 | แม | 553.70 กม. | 2 | ละแม | |||
บ้านดวด | 4210 | ดว. | 560.14 กม. | 3 | สวนแตง | |||
คันธุลี | 4212 | คล. | 566.37 กม. | 3 | คันธุลี | ท่าชนะ | สุราษฎร์ธานี | |
ดอนธูป | 4213 | ดธ. | 570.05 กม. | 3 | ||||
ท่าชนะ | 4215 | นะ. | 577.78 กม. | 2 | ท่าชนะ | ตำบลท่าชนะและตำบลสมอทองใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[26] อาคารสถานีท่าชนะอยู่ในเขตตำบลท่าชนะ ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตตำบลสมอทอง
| ||
บ้านเกาะมุกข์ | 4217 | ะม. | 584.06 กม. | ที่หยุดรถ | ประสงค์ |
เปิดใช้งานเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 สิงหาคม 2511[27] | ||
เขาพนมแบก | 4218 | ขบ. | 588.40 กม. | 3 | ป่าเว | ไชยา | เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2497[28] ตำบลป่าเว อำเภอไชยาและตำบลวัง อำเภอท่าชนะใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านเขาพนมแบก ตำบลป่าเว[29][30] ส่วนด้านทางหลีกอยู่ในเขตตำบลวัง | |
ไชยา | 4221 | ชย. | 597.71 กม. | 1 | ตลาดไชยา |
| ||
ท่าฉาง | 4224 | ทฉ. | 610.53 กม. | 3 | เขาถ่าน | ท่าฉาง |
| |
คลองขุด | 4225 | ขด. | 614.00 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าฉาง |
เคยเป็นสถานีมาก่อน ปัจจุบันถูกลกดระดับลงเป็นที่หยุดรถ | ||
คลองไทร | 4226 | คไ. | 618.87 กม. | 3 | คลองไทร | |||
มะลวน | 4227 | ลว. | 623.92 กม. | 3 | มะลวน | พุนพิน | ||
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ | 4229 | ทโ. | 631.00 กม. | 3 | พุนพิน | เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถชื่อ "ทุ่งโพธิ์" ในวันที่ 1 มกราคม 2498 ได้ยกฐานะเป็นสถานีรถไฟชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ ซึ่งมีทางสะดวกและหลีก เพื่อรองรับทางรถไฟสายคีรีรัฐนิคม (สายสุราษฎร์ธานี-พังงา-ท่านุ่น)[31] | ||
สุราษฎร์ธานี | 4239 | รท | 635.02 กม. | 1 | ท่าข้าม |
| ||
เขาหัวควาย | 4241 | ขค. | 641.51 กม. | 3 | เขาหัวควาย |
เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2497[32] | ||
บ่อกรัง | 4243 | กง. | 647.23 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าสะท้อน | |||
เขาพลู | 4245 | ขพ. | 652.46 กม. | 3 | ||||
คลองยา | 4246 | ยา. | 657.76 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าเรือ | บ้านนาเดิม | ||
บ้านนา | 4247 | นน. | 662.34 กม. | 2 | บ้านนา |
| ||
ห้วยมุด | 4249 | มด. | 669.68 กม. | 3 | นาสาร | บ้านนาสาร |
เคยมีทางรถไฟแยกไปโรงผลิตไม้หมอน ปัจจุบันยกเลิกการใช้งานแล้ว | |
นาสาร | 4250 | นส. | 673.70 กม. | 1 | ||||
คลองปราบ | 4252 | ปบ. | 679.90 กม. | ที่หยุดรถ | คลองปราบ | |||
พรุพี | 4253 | พพ. | 684.03 กม. | 3 | พรุพี | |||
คลองสูญ | 4254 | คู. | 687.72 กม. | ที่หยุดรถ |
ที่หยุดรถตั้งอยู่ในพื้นที่เทศบาลตำบลพรุพี หมู่ 5 บ้านห้วยล่วง ตำบลพรุพี[33] | |||
บ้านส้อง | 4255 | สอ. | 692.73 กม. | 1 | บ้านส้อง | เวียงสระ |
| |
บ้านพรุกระแชง | 4257 | แช. | 699.78 กม. | 3 | ||||
ห้วยปริก | 4258 | หป. | 704.61 กม. | 3 | ห้วยปริก | ฉวาง | นครศรีธรรมราช | |
กระเบียด | 4259 | เบ. | 709.87 กม. | 3 | กะเปียด | |||
ทานพอ | 4261 | ทา. | 716.66 กม. | 2 | ไม้เรียง |
| ||
ฉวาง | 4262 | ฉว. | 722.41 กม. | 2 | ฉวาง | |||
คลองจันดี | 4264 | จด. | 727.95 กม. | 1 | จันดี |
เชื่อมต่อรถสองแถว สู่อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช | ||
พ่อท่านคล้ายวาจาสิทธิ์ | 4265 | วจ. | 729.00 กม. | ที่หยุดรถ | หลักช้าง | ช้างกลาง |
เชื่อมต่อ วัดธาตุน้อย จังหวัดนครศรีธรรมราช มีขบวนรถหยุดรับ-ส่งผู้โดยสาร ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม 2563 เป็นต้นไป | |
หลักช้าง | 4266 | หช. | 734.71 กม. | 3 |
เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกในวันที่ 15 กันยายน 2496[34] | |||
คลองกุย | 4267 | อก. | 738.98 กม. | ที่หยุดรถ | ช้างกลาง |
ที่หยุดรถตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ 8 บ้านคลองกุย ตำบลช้างกลาง[35] | ||
นาบอน | 4268 | าอ. | 743.01 กม. | 2 | นาบอน | นาบอน | ||
คลองจัง | 4269 | คจ. | 747.03 กม. | 3 | ||||
บ้านเกาะปริง | 4433 | ะป. | 751.03 กม. | ที่หยุดรถ | หนองหงส์ | ทุ่งสง | ||
ชุมทางทุ่งสง | 4270 | ทส. | 757.08 กม. | 1 | ปากแพรก | ทางแยกไปสายกันตัง
| ||
ใสใหญ่ | 4295 | สใ. | 762.00 กม. | 3 | ถ้ำใหญ่ |
เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกในวันที่ 25 ธันวาคม 2495[36] | ||
ช่องเขา | 4297 | ชข. | 767.78 กม. | 3 |
สถานีตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 3 บ้านจำปา ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง[37][38] ส่วนอุโมงค์รถไฟช่องเขาตั้งอยู่ในเขตพื้นที่หมู่ 8 บ้านต้นกอ ตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์[39] | |||
- เข้าอุโมงค์ช่องเขา ยาว 335.90 เมตร กม.ที่ 769.82-770.05 | ||||||||
ร่อนพิบูลย์ | 4299 | รบ. | 776.33 กม. | 3 | ร่อนพิบูลย์ | ร่อนพิบูลย์ | นครศรีธรรมราช |
|
ชุมทางเขาชุมทอง | 4300 | ชท. | 781.01 กม. | 3 | ควนเกย | ทางแยกไปสายนครศรีธรรมราช
| ||
ควนหนองคว้า | 4310 | คว. | 789.38 กม. | 3 | ควนหนองคว้า | จุฬาภรณ์ | ||
บ้านตูล | 4311 | ตน. | 794.94 กม. | 3 | บ้านตูล | ชะอวด | ||
บ้านทุ่งค่าย | 4313 | น่. | 802.85 กม. | ที่หยุดรถ | ชะอวด | |||
ชะอวด | 4315 | ชด. | 806.06 กม. | 2 | เคยมีทางแยกไปริมคลองท่าเสม็ด (ยกเลิกใช้งาน) เดิมชื่อสถานีท่าเสม็ด
| |||
หนองจิก | 4316 | อจ. | 810.69 กม. | ป้ายหยุดรถ | นางหลง | |||
บ้านนางหลง | 4317 | นล. | 813.47 กม. | 3 | ||||
บ้านตรอกแค | 4435 | ค้. | 816.35 กม. | ป้ายหยุดรถ | ขอนหาด | |||
บ้านขอนหาด | 4318 | ขห. | 818.95 กม. | 3 | ||||
แหลมโตนด | 4319 | โน. | 824.06 กม. | 2 | แหลมโตนด | ควนขนุน | พัทลุง | |
บ้านสุนทรา | 4320 | บท. | 828.03 กม. | ที่หยุดรถ | ปันแต | |||
ปากคลอง | 4321 | ปค. | 833.11 กม. | 2 | มะกอกเหนือ | |||
บ้านมะกอกใต้ | 4323 | บใ. | 837.05 กม. | ที่หยุดรถ | ชัยบุรี | เมืองพัทลุง | ||
ชัยบุรี | 4324 | ไช. | 839.97 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
พัทลุง | 4325 | พท. | 846.01 กม. | 1 | คูหาสวรรค์ |
| ||
นาปรือ | 4326 | ปร. | 849.07 กม. | ที่หยุดรถ | ควนมะพร้าว | |||
บ้านค่ายไทย | 4327 | ทย. | 853.19 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||
บ้านต้นโดน | 4328 | บโ. | 856.28 กม. | 3 | ควนขนุน | เขาชัยสน |
ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านควนยาน, บ้านแหลมทอง ตำบลควนขนุน[40][41] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้ แบ่งเขตกับตำบลหานโพธิ์ โดยด้านทางหลีกอยู่ในหมู่ 3 บ้านต้นโดน ตำบลหานโพธิ์ | |
บ้านห้วยแตน | 4329 | ยแ. | 859.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | หานโพธิ์ | |||
เขาชัยสน | 4330 | เช. | 865.01 กม. | 2 | เขาชัยสน | |||
บางแก้ว | 4331 | แก. | 870.17 กม. | 2 | โคกสัก | บางแก้ว | เขตตำบลโคกสักและตำบลท่ามะเดื่อ ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้แบ่งเขต อาคารสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านแก่นคง ตำบลโคกสัก[42][43] ส่วนย่านทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 1 บ้านตลาดบางแก้ว ตำบลท่ามะเดื่อ
| |
ควนพระ | 4333 | คะ. | 876.50 กม. | ที่หยุดรถ | ฝาละมี | ปากพะยูน |
ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน และตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้ เป็นเส้นแบ่งเขต ตัวสถานี (เดิม) ตั้งอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านควนพระ ตำบลฝาละมี[44][45]แบ่งเขตกับตำบลป่าบอน | |
ควนเคี่ยม | 4334 | คเ. | 881.15 กม. | 3 | เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีทางสะดวกในวันที่ 1 สิงหาคม 2495[46] ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน และตำบลวังใหม่ อำเภอป่าบอน ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้ เป็นเส้นแบ่งเขต ตัวสถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 9 บ้านควนเคี่ยม ตำบลฝาละมี[44][45] ด้านทางหลีกอยู่ในหมู่ 2 บ้านควนเคี่ยม ตำบลวังใหม่ | |||
หารกง | 4335 | ฮก. | 885.35 กม. | ป้ายหยุดรถ |
ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน และตำบลวังใหม่ อำเภอป่าบอน ใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้ เป็นเส้นแบ่งเขต ที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 10 บ้านชุมแสง ตำบลฝาละมี[44][45] | |||
หารเทา | 4336 | หท. | 888.68 กม. | 2 | หารเทา | |||
วัดควนเผยอ | 4337 | วผ. | 893.49 กม. | ป้ายหยุดรถ | ดอนประดู่ | |||
โคกทราย | 4338 | โท. | 896.24 กม. | 3 | ดอนทราย |
ตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน และตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอนใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล อาคารสถานีโคกทรายอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านโคกทราย (โคกโหนด) ตำบลดอนทราย[47][45] ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านหัวควน ตำบลโคกทราย | ||
ควนเนียง | 4340 | เน. | 902.97 กม. | 1 | รัตภูมิ | ควนเนียง | สงขลา |
|
บ้านเกาะใหญ่ | 4342 | กใ. | 909.50 กม. | 3 | บางเหรียง | |||
บางกล่ำ | 4344 | บล. | 917.02 กม. | 3 | บางกล่ำ | บางกล่ำ | ||
บ้านดินลาน | 4345 | ดล. | 921.84 กม. | 3 | ท่าช้าง | |||
ชุมทางหาดใหญ่ | 4347 | หใ. | 928.58 กม. | 1 | หาดใหญ่ | หาดใหญ่ | จากสถานีชุมทางหาดใหญ่ สามารถเดินทางต่อไปตัวจังหวัดสงขลาได้สะดวก - เป็นสถานีแห่งเดียวในภาคใต้ตอนล่างที่ใช้ประแจกลไฟฟ้าชนิดตู้ควบคุมพร้อมเครื่องทางสะดวก (รีเลย์) -ทางแยกไปสายสงขลา (ยุบเลิกเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2521) และสายปาดังเบซาร์ - เดิมสถานีรถไฟอู่ตะเภา เป็นสถานีชุมทางรถไฟเดิมในเส้นทางสายสงขลา ก่อนย้านมาสถานีรถไฟหาดใหญ่ในปัจจุบัน
| |
นาม่วง | 4377 | มง. | 940.26 กม. | 2 | นาหม่อม | นาหม่อม |
| |
วัดควนมีด | 4381 | วม. | 953.75 กม. | 3 | คลองเปียะ | จะนะ | ||
จะนะ | 4384 | จน. | 964.50 กม. | 1 | บ้านนา |
| ||
ท่าแมงลัก | 4386 | งก. | 972.10 กม. | 3 | สะกอม | เทพา | ||
เกาะสะบ้า | 4388 | กส. | 980.79 กม. | 3 | เกาะสะบ้า | |||
เทพา | 4391 | เท. | 991.99 กม. | 1 | เทพา |
| ||
ตาแปด | 4393 | ตป. | 999.91 กม. | 3 | ปากบาง |
ตำบลปากบางและตำบลท่าม่วงใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[48][49] อาคารสถานีอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านตาแปด ตำบลปากบาง ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตตำบลท่าม่วง | ||
บ้านนิคม | 4394 | นิ. | 1003.27 กม. | ที่หยุดรถ | โคกโพธิ์ | โคกโพธิ์ | ปัตตานี | |
ปัตตานี (โคกโพธิ์) | 4395 | นี. | 1009.21 กม. | 1 | จากสถานีปัตตานี (โคกโพธิ์) สามารถเดินทางต่อไปตัวจังหวัดปัตตานีได้สะดวก
| |||
นาประดู่ | 4397 | าด. | 1016.73 กม. | 2 | นาประดู่ |
เดิมเป็นสถานีรถไฟประจำมณฑลปัตตานี[50] เนื่องจากตัวเมืองปัตตานีมีถนนชั้นดีจากนาประดู่เข้าปัตตานีเพียง 30 กิโลเมตรโดยสะดวกอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องสร้างทางรถไฟเข้าตัวเมืองดังเช่นจังหวัดอื่น ๆ | ||
วัดช้างให้ | 4437 | ชห. | 1020.09 กม. | 3 | ทุ่งพลา | ตำบลทุ่งพลาและตำบลควนโนรีใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[51][52] อาคารสถานีอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านป่าไร่ ตำบลทุ่งพลา ตรงข้ามสถานีคือวัดช้างให้ราษฎรบูรณาราม ในเขตตำบลควนโนรี | ||
ป่าไร่ | 4398 | ปไ. | 1021.29 กม. | ที่หยุดรถ |
เดิมเป็นสถานี หลังได้เกิดเหตุผู้ก่อความไม่สงบลอบวางเพลิงเผาสถานี ทำให้สถานีถูกลดระดับลงมาเป็นที่หยุดรถ, ตำบลทุ่งพลาและตำบลควนโนรีใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[51][52] อาคารสถานี (เดิม) อยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านป่าไร่ ตำบลทุ่งพลา | |||
คลองทราย | 4399 | คซ. | 1026.07 กม. | 3 | แม่ลาน | แม่ลาน | ||
ตาเซะ | 4400 | ตซ. | 1031.59 กม. | 3 | ตาเซะ | เมืองยะลา | ยะลา |
เดิมมีฐานะเป็นที่หยุดรถ ยกฐานะเป็นสถานีมีทางสะดวกในวันที่ 1 กันยายน 2497[53] |
ยะลา | 4402 | ยล. | 1038.74 กม. | 1 | สะเตง |
| ||
ไม้แก่น | 4405 | ไม. | 1048.80 กม. | 3 | เนินงาม | รามัน |
ตำบลเนินงามและตำบลวังพญาใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[54][55] อาคารสถานีไม้แก่นอยู่ในเขตหมู่ 2 บ้านไม้แก่น ตำบลเนินงาม ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตตำบลวังพญา | |
บ้านปาแต | 4406 | ตแ. | 1051.95 กม. | ที่หยุดรถ | กอตอตือร๊ะ | |||
รามัน | 4408 | รั. | 1056.82 กม. | 1 | กายูบอเกาะ | |||
บาลอ | 4409 | าล. | 1061.70 กม. | 3 | บาลอ |
| ||
รือเสาะ | 4411 | สะ. | 1071.19 กม. | 1 | รือเสาะ | รือเสาะ | นราธิวาส |
ตำบลรือเสาะและตำบลรือเสาะออกใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้เป็นแนวแบ่งเขตตำบล[56] อาคารสถานีรือเสาะอยู่ในเขตตำบลรือเสาะ ส่วนทางหลีกอยู่ในเขตตำบลรือเสาะออก |
สะโลว์บูกิ๊ตยือแร | 4412 | ยื | 1075.98 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ลาโละ | 4414 | ลล. | 1081.77 กม. | 3 | ลาโละ |
| ||
มะรือโบ | 4416 | โบ. | 1089.46 กม. | 2 | มะรือโบตก | ระแงะ | ||
กะแด๊ะ | 4417 | กแ. | 1093.96 กม. | ที่หยุดรถ | เฉลิม | |||
ตันหยงมัส | 4419 | ยม. | 1099.50 กม. | 1 | ตันหยงมัส | จากสถานีตันหยงมัสสามารถเดินทางต่อไปตัวจังหวัดนราธิวาสได้สะดวก
| ||
ป่าไผ่ | 4421 | ปผ. | 1105.44 กม. | 3 | ตันหยงลิมอ | |||
เจาะไอร้อง | 4423 | จอ. | 1111.15 กม. | 2 | จวบ | เจาะไอร้อง | ||
บูกิต | 4424 | บู. | 1115.83 กม. | 3 | บูกิต | |||
ไอสะเตีย | 4425 | ไอ. | 1119.62 กม. | ที่หยุดรถ |
เดิมเป็นสถานี หลังได้เกิดเหตุผู้ก่อความไม่สงบ ทำให้สถานีลดระดับลงมาเป็นที่หยุดรถ | |||
โต๊ะเด็ง | 4427 | ตด. | 1125.65 กม. | 3 | โต๊ะเด็ง | สุไหงปาดี | ||
สุไหงปาดี | 4428 | งด. | 1130.10 กม. | 1 | ปะลุรู | |||
โคกสยา | 4430 | โย. | 1137.14 กม. | ที่หยุดรถ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2515[57] | |||
สุไหงโก-ลก | 4432 | โล. | 1142.99 กม. | 1 | สุไหงโก-ลก | สุไหงโก-ลก |
| |
ชายแดนประเทศไทย-มาเลเซีย กม. 1144.00 | ||||||||
รันเตาปันจัง | – | – | 1144.50 กม. | - | รันเตาปันจัง | เยอลี หรือ อ. ปาเสร์มัส | รัฐกลันตัน(ประเทศมาเลเซีย) |
เคยเป็นสถานีรถไฟเชื่อมต่อชายแดนไทย-มาเลเซีย แต่ในปัจจุบันการเชื่อมต่อไปถูกยกเลิก และใช้ชายแดนที่ปาดังเบซาร์แทน ในอนาคตมีแผนจะฟื้นฟูทางรถไฟ สายสุไหงโกลก-รันเตาปันจัง-ปาซีร์มัซ กลับมาอีกครั้ง |
ชุมทางหนองปลาดุก—สุพรรณบุรี (ปด.—สพ.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางหนองปลาดุก - สุพรรณบุรี | ||||||||
ชุมทางหนองปลาดุก | 4020 | ปด. | 64.19 กม. | 2 | หนองกบ | บ้านโป่ง | ราชบุรี | |
ยางประสาท | 4022 | ยะ. | 71.60 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านยาง | เมืองนครปฐม | นครปฐม | |
ดอนขุนวิเศษ | 4024 | ดส. | 80.50 กม. | ที่หยุดรถ | ห้วยหมอนทอง | กำแพงแสน | ||
กำแพงแสน | 4025 | กำ. | 85.30 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ทุ่งบัว | 4026 | วบ. | 87.86 กม. | ที่หยุดรถ | รางพิกุล | |||
หนองฟัก | 4027 | นฟ. | 93.00 กม. | ที่หยุดรถ | ทุ่งบัว | |||
โรงเรียนการบิน | 4028 | ริ. | 96.46 กม. | ที่หยุดรถ | กระตีบ |
เปิดเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2531 | ||
ทะเลบก | 4029 | ทะ. | 99.60 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
หนองวัลย์เปรียง | 4031 | หเ. | 104.97 กม. | ที่หยุดรถ | ทุ่งคอก | สองพี่น้อง | สุพรรณบุรี | |
สะพังเขิน | 4032 | - | 107.00 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
ศรีสำราญ | 4033 | สญ. | 113.30 กม. | ที่หยุดรถ | สองพี่น้อง | เปิดเป็นสถานีทางสะดวกในวันที่ 16 มิถุนายน 2506[73] และเป็นสถานีรายทางแห่งสุดท้ายก่อนยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อปี 2528
| ||
ดอนสงวน | 4035 | ดน. | 118.97 กม. | ที่หยุดรถ | หัวโพธิ์ | |||
ดอนทอง | 4036 | ดถ. | 122.31 กม. | ที่หยุดรถ | วัดโบสถ์ | บางปลาม้า | ||
หนองผักชี | 4037 | ผช. | 125.50 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
บ้านมะขามล้ม | 4039 | มข. | 131.35 กม. | ที่หยุดรถ | มะขามล้ม |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2522[74] | ||
สะแกย่างหมู | 4040 | สู. | 135.35 กม. | ที่หยุดรถ |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2515[75] | |||
สุพรรณบุรี | 4042 | สพ. | 141.60 กม. | 2 | รั้วใหญ่ | เมืองสุพรรณบุรี | เป็นสถานีเพียงแห่งเดียวของทางรถไฟสายสุพรรณบุรี
| |
มาลัยแมน | - | - | 142.66 กม. | ที่หยุดรถ |
เปิดเมื่อ 5 มกราคม 2539 เป็นจุดสิ้นสุดทางรถไฟสายสุพรรณบุรี |
ชุมทางหนองปลาดุก—น้ำตก (ปด.—าต.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางหนองปลาดุก - น้ำตก | ||||||||
ชุมทางหนองปลาดุก | 4020 | ปด. | 64.19 กม. | 2 | หนองกบ | บ้านโป่ง | ราชบุรี |
สถานีชุมทางแยกไปสายใต้ กับสายสุพรรณบุรี เป็นสถานีเริ่มต้นของเส้นทางรถไฟสายมรณะ ในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2[76] |
ถนนทรงพล | 4043 | ซง. | 67.90 กม. | ป้ายหยุดรถ | บ้านโป่ง | |||
สระโกสินารายณ์ | 4044 | สโ. | 73.65 กม. | 3 | ท่าผา |
เดิมชื่อสถานี "บ้านโป่งใหม่" ย้ายมาจากที่ตั้งเดิม มาตั้งที่ใหม่เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2512[77] ใช้อาคารสถานีที่ย้ายมาจากสถานีท่าม่วง และใช้ชื่อเดิมก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นชื่อสถานี "สระโกสินารายณ์" ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2513 | ||
ลูกแก | 4045 | ลแ. | 77.43 กม. | 3 | ดอนขมิ้น | ท่ามะกา | กาญจนบุรี | |
ท่าเรือน้อย | 4048 | ทน. | 89.77 กม. | 2 | ท่าเรือ | ฝ่ายการช่างโยธา
| ||
หนองเสือ | 4050 | บส. | 96.68 กม. | ที่หยุดรถ | วังศาลา | ท่าม่วง |
เปิดเป็นที่หยุดรถ "บ้านหนองเสือ" ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2502[78] ปัจจุบันใช้ชื่อ "หนองเสือ" | |
ท่าม่วง | 4051 | าม. | 100.34 กม. | 3 | วังขนาย | เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2504[79] ปัจจุบันเป็นลานกองคอนเทนเนอร์ (CY) บนเส้นทางสายตะวันตก **ปัจจุบันมีการสร้างอาคารสถานี พร้อมระบบทางสะดวก และอาณัติสัญญาณเขตสถานี **ปัจจุบันมีฐานะกลับมาเป็นสถานีรถไฟ ยกฐานะเป็นสถานีเหมือนเดิมตี้งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เป็นสถานีรถไฟลำดับที่ 441 ตั้งแต่เวลา 06.00 น.[80] มีทางหลีก 499.70 เมตร ทางตัน 490.80 เมตร และเดินรถโดยระเบียบตอนสมบูรณ์ ระหว่างสถานีท่าเรือน้อย-ท่าม่วง และท่าม่วง-กาญจนบุรี | ||
ทุ่งทอง | 4052 | ทุ. | 102.71 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าม่วง | |||
ปากแพรก | 4055 | ปแ. | 114.36 กม. | ที่หยุดรถ | ปากแพรก | เมืองกาญจนบุรี |
เคยเป็นสถานี เดิมเป็นสถานีหลักของจังหวัดกาญจนบุรี ในสมัยยุคสงคราม มี 3 ทางหลีก ยุบเป็นที่หยุดรถก่อนปี 2521 และเคยมีทางแยกไปโรงงานกระดาษ | |
กาญจนบุรี | 4057 | กญ. | 117.04 กม. | 1 | บ้านใต้ | เป็นสถานีในยุคสุดท้ายที่ใช้ป้ายพื้นหลังสีดำของกรมรถไฟหลวงในปี พ.ศ. 2530, สถานีรถไฟประจำจังหวัดกาญจนบุรี ฝ่ายการช่างโยธา
| ||
สะพานแควใหญ่ | 4058 | แค. | 120.26 กม. | ป้ายหยุดรถ | ท่ามะขาม | เป็นป้ายหยุดรถในยุคสุดท้ายที่ใช้ป้ายพื้นหลังสีดำของกรมรถไฟหลวงในปี พ.ศ. 2530 ทางตะวันตกของสถานีมีสะพานข้ามแควใหญ่ ความยาว 322.90 เมตร ซึ่งเป็นหนึ่งเอกลักษณ์จังหวัดกาญจนบุรีในเส้นทางรถไฟสายนี้ และเป็นเครื่องหมายแห่งสันติภาพ | ||
เขาปูน | 4059 | เป. | 124.55 กม. | ที่หยุดรถ |
เคยเป็นสถานี ตั้งอยู่กม.ที่ 121.55 ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2511[81] และย้ายที่หยุดรถมาตั้งที่กม. 124.55 (ที่ตั้งปัจจุบัน) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2520 | |||
วังลาน | 4061 | วน. | 132.70 กม. | ที่หยุดรถ | หนองหญ้า |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2519[82] | ||
นากาญจน์ | 4062 | นญ. | 136.46 กม. | ที่หยุดรถ | วังเย็น |
เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2514[83] | ||
วังเย็น | 4063 | วย. | 140.15 กม. | 3 | เป็นสถานีในยุคสุดท้ายที่ใช้ป้ายพื้นหลังสีดำของกรมรถไฟหลวงในปี พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2530 เดิมชื่อสถานี "ท่าโป่ง" และเปลี่ยนชื่อเป็น "วังเย็น" ในวันที่ 17 ธันวาคม 2501[84] | |||
วังตะเคียน | 4064 | วเ. | 144.80 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
โป่งเสี้ยว | 4065 | ปเ. | 148.17 กม. | ป้ายหยุดรถ |
เปิดเป็นที่หยุดรถ "บ้านโป่งเสี้ยว" ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2532[87] ปัจจุบันใช้ชื่อ "โป่งเสี้ยว" | |||
บ้านเก่า | 4066 | าน. | 151.95 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านเก่า |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2520[88] เดิมเรียกว่า "บ้านเขา" | ||
ท่าตาเสือ | 4067 | ตส. | 156.80 กม. | ที่หยุดรถ | สิงห์ | ไทรโยค |
เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2514[83] | |
ท่ากิเลน | 4069 | กน. | 161.95 กม. | 3 | เป็นสถานีในยุคสุดท้ายที่ใช้ป้ายพื้นหลังสีดำของกรมรถไฟหลวงในปี พ.ศ. 2530 สามารถเดินทางต่อไปยังอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ได้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้ ฝ่ายการช่างโยธา
| |||
วังสิงห์ | 4070 | วห. | 167.03 กม. | ที่หยุดรถ |
เปิดเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2508[89] ใช้ชื่อที่หยุดรถนี้ว่า "วังสิงห์" เมื่อวันที่ 9 ส.ค. 2508 | |||
ลุ่มสุ่ม | 4071 | ลุ. | 172.35 กม. | ที่หยุดรถ | ลุ่มสุ่ม | |||
เข้าสะพานถ้ำกระแซ ตัวสะพานทำจากไม้ ยาว 450.06 เมตร การเดินรถต้องเบาทางที่ 10 กม./ชม. | ||||||||
ถ้ำกระแซ | 4072 | แซ. | 173.87 กม. | ป้ายหยุดรถ | ลุ่มสุ่ม | ไทรโยค | กาญจนบุรี | ประกอบด้วยที่หยุดรถ 3 แห่ง
|
วังโพ | 4073 | วง. | 178.10 กม. | 3 | สถานีอยู่ในเขตย่านอำเภอและเขตศูนย์ราชการของอำเภอไทรโยค ฝ่ายการช่างโยธา
| |||
เกาะมหามงคล | 4074 | กม. | 183.66 กม. | ป้ายหยุดรถ | ท่าเสา |
เป็นที่หยุดรถที่ตั้งขึ้นใหม่ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2532[91] เพื่ออำนวยความสะดวกกับผู้ปฎิบัติธรรม เพราะตั้งอยู่ใกล้กับสถานปฏิบัติธรรมแดนมหามงคล | ||
ช่องแคบ | 4075 | อบ. | 185.35 กม. | ที่หยุดรถ |
เปิดเป็นที่หยุดรถในวันที่ 1 กรกฎาคม 2501[92] | |||
วังใหญ่ | 4076 | วใ. | 188.90 กม. | ที่หยุดรถ |
เปิดเป็นสถานีในวันที่ 1 กรกฎาคม 2501[72] และยุบเป็นที่หยุดรถในภายหลัง | |||
บ้านพุพง | 4436 | พุ. | 191.25 กม. | ป้ายหยุดรถ | ||||
น้ำตก | 4077 | าต. | 194.24 กม. | 2 | ||||
น้ำตกไทรโยคน้อย | - | - | 194.84 กม. | ป้ายหยุดรถ | เป็นป้ายหยุดรถที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว และเป็นปลายทางของทางรถไฟสายตะวันตก
|
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์—คีรีรัฐนิคม (ทโ.—รค.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ - คีรีรัฐนิคม | ||||||||
ชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ | 4229 | ทโ. | 631.00 กม. | 2 | พุนพิน | พุนพิน | สุราษฎร์ธานี | |
บ้านดอนรัก | 4230 | รก. | 634.35 กม. | ที่หยุดรถ | หนองไทร | |||
บ้านทุ่งหลวง | 4232 | าว. | 640.75 กม. | ที่หยุดรถ | น้ำรอบ | |||
บ้านขนาย | 4233 | าย. | 644.55 กม. | ที่หยุดรถ | บางงอน | |||
บ้านดอนเรียบ | 4234 | ดเ. | 649.35 กม. | ที่หยุดรถ | ||||
คลองยัน | 4235 | คอ. | 652.60 กม. | ที่หยุดรถ | ท่ากระดาน | คีรีรัฐนิคม | ||
เขาหลุง | 4236 | ขุ. | 655.58 กม. | ที่หยุดรถ | บ้านยาง | |||
บ้านยาง | 4237 | ง้ | 658.00 กม. | ที่หยุดรถ | ท่าขนอน | |||
คีรีรัฐนิคม | 4238 | รค. | 662.00 กม. | 2 |
|
ชุมทางทุ่งสง—กันตัง (ทส.—กต.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางทุ่งสง - กันตัง | ||||||||
ชุมทางทุ่งสง | 4270 | ทส. | 757.08 กม. | 1 | ปากแพรก | ทุ่งสง | นครศรีธรรมราช | |
ที่วัง | 4272 | ทว. | 765.57 กม. | 3 | ที่วัง | |||
กะปาง | 4275 | กป. | 776.33 กม. | ที่หยุดรถ | คลองปาง | รัษฎา | ตรัง | เคยเป็นสถานี ประกาศเป็นที่หยุดรถชั่วคราวในวันที่ 7 ธันวาคม 2524 เนื่องจากอาคารสถานีถูกกลุ่มผู้นิยมลัทธิคอมมิวนิสต์เผาทำลาย และยุบเป็นที่หยุดรถถาวรเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2525
|
ห้วยยอด | 4281 | ยอ. | 800.82 กม. | 2 | ห้วยยอด | ห้วยยอด |
| |
ลำภูรา | 4285 | ลร. | 814.51 กม. | ที่หยุดรถ | ลำภูรา |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2479[98] ต่อมาได้กลับมายกฐานะเป็นสถานีไม่มีทางสะดวกเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2497 และยุบเป็นที่หยุดรถอีกครั้งเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2520[13]และยุบเลิกใช้งานถาวรในภายหลัง แต่ปัจจุบันเปิดใช้งานเป็นที่หยุดรถไฟเฉพาะมีเดินรถขบวนพิเศษโดยสารที่ 913/914 ด่วนอ่าวไทย–ด่วนอันดามัน (นครศรีธรรมราช–กันตัง) เป็นครั้งคราว | ||
ตรัง | 4289 | ตร. | 829.28 กม. | 1 | ทับเที่ยง | เมืองตรัง |
| |
กันตัง | 4294 | กต. | 850.08 กม. | 2 | กันตัง | กันตัง |
ชุมทางเขาชุมทอง—นครศรีธรรมราช (ชท.—ธำ.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางเขาชุมทอง - นครศรีธรรมราช | ||||||||
ชุมทางเขาชุมทอง | 4300 | ชท. | 781.01 กม. | 2 | ควนเกย | ร่อนพิบูลย์ | นครศรีธรรมราช | |
บ้านเกยเชน | 4301 | กซ. | 786.15 กม. | ที่หยุดรถ | ควนชุม |
ที่หยุดรถอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านทุ่งเลน ตำบลควนชุม อำเภอร่อนพิบูลย์[99] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[100] แบ่งเขตกับตำบลร่อนพิบูลย์ | ||
บ้านทุ่งหล่อ | 4302 | ลอ. | 790.59 กม. | 3 |
สถานีอยู่ในเขตหมู่ 2,7 บ้านไทรทอง,บ้านทุ่งหล่อ ตำบลควนชุม อำเภอร่อนพิบูลย์[101] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[102] แบ่งเขตกับตำบลหินตก โดยพื้นที่บริเวณทางหลีกบางส่วนอยู่ในตำบลหินตก | |||
โคกคราม | 4303 | คค. | 794.67 กม. | 3 | เสาธง |
สถานีตั้งอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านโคกคราม ตำบลเสาธง อำเภอร่อนพิบูลย์[103] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[104] แบ่งเขตกับตำบลทางพูน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ โดยพื้นที่บริเวณทางหลีกอยู่ในพื้นที่หมู่ 4 บ้านโคกคราม ตำบลทางพูน | ||
บ้านห้วยยูง | 4304 | ยู. | 798.72 กม. | ป้ายหยุดรถ | ช้างซ้าย | พระพรหม |
ป้ายหยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 4 บ้านห้วยยูง ตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม[105] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[106] แบ่งเขตกับตำบลท้ายสำเภา | |
บ้านท่าช้าง | 4305 | บช. | 803.40 กม. | ที่หยุดรถ | เดิมเป็นสถานีไม่มีทางสะดวก ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2515[107] ที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 5 บ้านไสเลียบ ตำบลช้างซ้าย อำเภอพระพรหม[108] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[109] แบ่งเขตกับตำบลนาพรุ | |||
วังวัว | 4306 | วว. | 806.35 กม. | ที่หยุดรถ | นาพรุ | เดิมเป็นสถานี ปัจจุบันถูกยุบเป็นที่หยุดรถ ที่หยุดรถตั้งอยู่ในเขตหมู่ 6 บ้านวังวัว ตำบลนาพรุ อำเภอพระพรหม[110] โดยใช้กึ่งกลางของทางรถไฟสายใต้[111] แบ่งเขตกับตำบลช้างซ้าย | ||
มะม่วงสองต้น | 4307 | สต. | 810.88 กม. | ที่หยุดรถ | มะม่วงสองต้น | เมืองนครศรีธรรมราช |
เคยเป็นสถานี ยุบเป็นที่หยุดรถเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2519[112] | |
นครศรีธรรมราช | 4308 | ธำ. | 816.02 กม. | 1 | ท่าวัง | จุดสิ้นสุดทางรถไฟในอดีตนั้นไกลกว่าปัจจุบันและมีการทำรางจากอาคารสินค้ามาบรรจบรางประธาน
|
ชุมทางหาดใหญ่—ปาดังเบซาร์ (หใ.—ปซ.)
แก้ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ | รหัสสถานี | ระยะทางจาก กท. | ชั้นสถานี | ที่ตั้ง | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เลข | ตัวย่อ | ตำบล | อำเภอ | จังหวัด | ||||
ชุมทางหาดใหญ่ - ปาดังเบซาร์ | ||||||||
ชุมทางหาดใหญ่ | 4347 | หใ. | 928.58 กม. | 1 | หาดใหญ่ | หาดใหญ่ | สงขลา | |
คลองแงะ | 4368 | คง. | 952.64 กม. | 2 | พังลา | สะเดา |
| |
ปาดังเบซาร์ (ฝั่งไทย) | - | ปซ.2 | 972.90 กม. | 3 | ปาดังเบซาร์ | –เป็นสถานีสุดท้ายในฝั่งประเทศไทยก่อนที่จะไปฝั่งมาเลเซีย-เป็นสถานีรถไฟที่สร้างสำหรับคนที่อยู่อาศัยฝั่งไทยติดชายแดน | ||
ชายแดน ไทย/มาเลเซีย กม.ที่ 973.56 | ||||||||
ปาดังเบซาร์ | 4374 | ปซ. | 973.84 กม. | 1 | ปาดังเบซาร์ | ปาดังเบซาร์ | รัฐปะลิส ประเทศมาเลเซีย | -เป็นสถานีรถไฟเชื่อมต่อชายแดนไทย-มาเลเซีย -มีขบวนรถด่วนพิเศษ 45/46 กท.-ปซ.-กท. และรถชานเมือง 947/948/949/950 หใ.-ปซ.-หใ. รับส่งผู้โดยสารข้ามชายแดนทุกวัน |
อ้างอิง
แก้- ↑ "ด้วยการรถไฟฯ จะต้องเตรียมมอบพื้นที่สถานีธนบุรีให้กับโรงพยาบาลศิริราช ในวันอังคารที่ 07 ตุลาคม 2546 จึงจำเป็นจะต้องยุบเลิกสถานีธนบุรี และงดเดินขบวนรถจากสถานีบางกอกน้อย-ธนบุรีทุกขบวน". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2546
- ↑ "ด้วยการรถไฟฯ ได้อนุมัติให้ยุบเลิกชื่อสถานี "บางกอกน้อย" และเปลี่ยนชื่อเป็นสถานี "ธนบุรี" เพื่อความเหมาะสม ตั้งแต่วันพฤหัสบดีที่ 1 มกราคม 2547 เป็นต้นไป". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2547
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในแขวงศิริราช เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในแขวงฉิมพลี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลธรรมศาลา อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 80 (37 ง): 1132–1133. วันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2506
- ↑ "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลนครนครปฐม จังหวัดนครปฐม พ.ศ. ๒๕๔๒" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (110 ก): 6–9. วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบางเค็ม อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลเขาย้อย อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 73 (75 ง): (ฉบับพิเศษ) 61-62. วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2499
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 117 (100 ง): 49–76. วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2543
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเขาย้อย อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองกระเจ็ด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลหนองศาลา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 "ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 เนื่องจากมีความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ตั้งสถานีขึ้นในเส้นทางรถไฟสายใต้ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2525 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ ":0" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลกุยเหนือ อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 15 ง): 1–17. วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "โครงการทางคู่ทั่วประเทศ" (PDF). การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-11-05. สืบค้นเมื่อ 2024-05-25. วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2561
- ↑ "โครงการทางคู่ทั่วประเทศ" (PDF). การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-11-05. สืบค้นเมื่อ 2024-05-25. วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2561
- ↑ "โครงการทางคู่ทั่วประเทศ" (PDF). การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-11-05. สืบค้นเมื่อ 2024-05-25. วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2561
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลอ่างทอง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (ตอนพิเศษ 37 ง): 194–206. วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2542
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลปะทิว อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 73 (75 ง): (ฉบับพิเศษ) 71-72. วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2499
- ↑ "ยกที่หยุดรถเขาสวนทุเรียน เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2497
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลนาโพธิ์ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอสวี จังหวัดชุมพร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 126 ง): 185–207. วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎ์ธานี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 117 ง): 104–121. วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "เปิดที่หยุดรถบ้านเกาะมุกข์ ระหว่างสถานีท่าชนะและสถานีเขาพนมแบก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2511
- ↑ "10 กุมภาพันธ์ 2497 ยกที่หยุดรถเขาพนมแบก เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎ์ธานี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 117 ง): 88–103. วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลป่าเว อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ยกระดับที่หยุดทุ่งโพธิ์ เป็นชุมทางบ้านทุ่งโพธิ์ ซึ่งมีทางสะดวก และ หลีก เพื่อ รองรับสายคีรีรัฐนิคม (ท่าขนอน)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2498
- ↑ "ยกที่หยุดรถเขาหัวควาย เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลพรุพี อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ยกที่หยุดรถหลักช้าง เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2496
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลช้างกลาง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "25 ธันวาคม 2496 ยกที่หยุดรถไสใหญ่ บ้านพูน เป็นสถานีไม่มีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2496
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "พระราชกฤษฎีกากำหนดป่าปากแพรก ในท้องที่ตำบลถ้ำใหญ่ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เป็นป่าคุ้มครอง พ.ศ. ๒๔๘๙" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 63 (83 ก): 873–875. วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2489
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลควนขนุน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 117 ง): 8–20. วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 125 ง): 125–131. วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ 44.0 44.1 44.2 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 45.0 45.1 45.2 45.3 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 125 ง): 74–88. วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2541
- ↑ "ยกที่หยุดรถควนเคี่ยม เป็นสถานีทางสะดวก มีหลีกยาว 506.88 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2495
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลดอนทราย อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 50 ง): 136–161. วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ 100 ปีสถานีรถไฟโคกโพธิ์-ปัตตานี สืบค้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2566
- ↑ 51.0 51.1 "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 77 ง): 1–29. วันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2540
- ↑ 52.0 52.1 "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ยกที่หยุดรถตาเซะ เป็นสถานีทางสะดวก". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2497
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 115 (ตอนพิเศษ 112 ง): 133–166. วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
- ↑ "แผนที่ดินและสารสนเทศดินระดับตำบลในตำบลเนินงาม อำเภอรามัน จังหวัดยะลา". กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลในท้องที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 114 (ตอนพิเศษ 56 ง): 91–107. วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2540
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.71+600 "สถานียางประสาท"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2520 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2519
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.80+500 "สถานีดอนขุนวิเศษ"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.85+300 "สถานีกำแพงแสน"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2500
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2519 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.93+000 "สถานีหนองฟัก"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2500
- ↑ "กรมศิลปากรพิจารณาแล้วมีความเห็นพ้องด้วย ส่วนกระทรวงมหาดไทยมีความเห็นว่า สำหรับ สถานีทุ่งขวาง ควรใช้ชื่อสถานีว่า สถานีหนองฟัก สถานีอื่นๆนอกนั้นเหมาะสมแล้ว ณ วันที่ 26 สค. 2500 ป. ศกุนตนาค ลงนามแทนผู้ว่า". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2500
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.99+600 "สถานีทะเลบก"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 เปิดสถานีทะเลบก ในทางสายสุพรรณบุรี เป็นสถานีทางสะดวก สร้างทางหลีกทาง 2 มีความยาว 502.53 สร้างทางตันมีความยาว332.23 และสร้างชานบรรทุกขนาด 10.00+60.00 เมตร". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2514
- ↑ 68.0 68.1 68.2 "ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2520 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ ":02" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ "ตั้งชื่อที่หยุดรถสร้างขึ้นมาใหม่ในทางสายใหม่ว่า "หนองวัลย์เปรียง" ด้วยการรถไฟฯได้ให้ฝ่ายการก่อสร้างจัดสร้างที่หยุดรถขึ้นที่ กม.104+975 ระหว่างสถานีทะเลบก กับสถานีสะพังเขิน ในทางสายสุพรรณบุรี แต่ที่หยุดรถดังกล่าวยังไม่มีชื่อ จึงให้ตั้งชื่อที่หยุดรถที่จะสร้างขึ้นใหม่ตามที่กระทรวงมหาดไทยเห็นชอบ สั่ง ณ วันที่ 23 มีนาคม 2509". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2509
- ↑ "ด้วยเจ้าหน้าที่เขตก่อสร้างหนองปลาดุก ฝ่ายก่อสร้างได้จัดสร้างที่หยุดรถหนองวัลย์เปรียง ที่กม.104+975 (ระยะทางจากสถานีธนบุรี) ระหว่างสถานีทะเลบกกับสถานีสะพังเขิน ในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี (แทนการย้ายที่ตั้งสถานีสะพังเขิน) เสร็จเรียบร้อยแล้ว และให้ใช้อักษรย่อว่า"หเ" ฉะนั้นให้ยุบเลิกสถานีสะพังเขินนั้นเสีย และให้เปิดที่หยุดรถ หนองวัลย์เปรียงขึ้นใหม่แทน ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2509 เป็นต้นไป". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2509
- ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.107+000 "สถานีสะพังเขิน"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2500
- ↑ 72.0 72.1 "ด้วยเจ้าหน้าที่เขตก่อสร้างหนองปลาดุก ฝ่ายก่อสร้างได้จัดสร้างที่หยุดรถหนองวัลย์เปรียง ที่กม.104+975 (ระยะทางจากสถานีธนบุรี) ระหว่างสถานีทะเลบกกับสถานีสะพังเขิน ในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี (แทนการย้ายที่ตั้งสถานีสะพังเขิน) เสร็จเรียบร้อยแล้ว และให้ใช้อักษรย่อว่า"หเ" ฉะนั้นให้ยุบเลิกสถานีสะพังเขินนั้นเสีย และให้เปิดที่หยุดรถ หนองวัลย์เปรียงขึ้นใหม่แทน ตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2509 เป็นต้นไป". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2509 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ ":023" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ "คำสั่งตั้งชื่อสถานีที่สร้างขึ้นมาใหม่ในเส้นทางสายสุพรรณบุรี ด้วยการรถไฟฯกำลังดำเนินการก่อสร้าง อาคารสถานี ทางหลีก,พร้อมอุปกรณ์ในการเดินรถในทางสายหนองปลาดุก-สุพรรณบุรี ตอนระหว่างหนองปลาดุก-ศรีสำราญ รวม 7 แห่ง ได้แก่ กม.113+300 "สถานีศรีสำราญ"". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2565
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2516 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2515
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-22. สืบค้นเมื่อ 2009-10-09.
- ↑ "สร้างอาคารสถานีบ้านโป่งใหม่ ในเส้นทางสายใต้ใหม่ ทางหลีกทาง 2 ยาว 446.10 เมตร, ทางตันยาว 461.25 เมตร, ทางแยกเข้าโรงงานอุตสาหกรรมกระดาษไทย ยาว 1,173.06 เมตร, ทางหลีกในทางแยกจากหลักปลอดภัยของประแจที่ 1-3 ยาว 237.86 เมตร, ทางหลีกจากหลักปลอดภัยของประแจ 2-4 ยาว 122.25 เมตร เมื่อ 1 พ.ค. พ.ศ. 2512". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-05. สืบค้นเมื่อ 2023-02-05. วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2512
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 เนื่องจากมีความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ตั้งป้ายหยุดรถขึ้นในเส้นทางรถไฟสายใต้ (ณ สมุดเลขรหัส แทนชื่อสถานีและที่หยุดรถ เริ่มใช้วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2522)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย. วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
- ↑ "ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2504 เนื่องจากหมดความจำเป็นในด้านการเดินรถและการพาณิชย์ ฉะนั้น ให้ยุบสถานีต่าง ๆ เป็นที่หยุดรถ (ประกาศ ณ วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2504)". ที่ว่าการฝ่ายการเดินรถ การรถไฟแห่งประเทศไทย.