สถานีบางพลัด (อังกฤษ: Bang Phlat Station, รหัส BL07) เป็นสถานีรถไฟฟ้ายกระดับในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ยกระดับเหนือถนนจรัญสนิทวงศ์ และคลองบางพลัด[2]

บางพลัด
BL07

Bang Phlat
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนจรัญสนิทวงศ์ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°47′33″N 100°30′18″E / 13.7925°N 100.5049°E / 13.7925; 100.5049
เจ้าของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ผู้ให้บริการทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BEM)
สาย     สายเฉลิมรัชมงคล
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ทางวิ่ง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีBL07
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ4 ธันวาคม พ.ศ. 2562; 5 ปีก่อน (2562-12-04)[1]
ผู้โดยสาร
2564485,490
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้ามหานคร สถานีต่อไป
บางอ้อ
มุ่งหน้า หลักสอง ผ่าน บางซื่อ
สายเฉลิมรัชมงคล สิรินธร
มุ่งหน้า ท่าพระ
ที่ตั้ง
แผนที่

ที่ตั้ง

แก้
 
ถนนจรัญสนิทวงศ์ บริเวณสถานีฯ

ถนนจรัญสนิทวงศ์ บริเวณด้านหน้าธนาคารกสิกรไทย สาขาบางพลัด ในพื้นที่แขวงบางอ้อ เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร

แผนผังสถานี

แก้
U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 2 สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า ท่าพระ
ชานชาลา 1 สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า หลักสอง (ผ่าน บางซื่อ)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสารและนักท่องเที่ยว, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, เขตบางพลัด

รายละเอียดสถานี

แก้

สัญลักษณ์ของสถานี

แก้
 
ป้ายข้อมูลฯ บริเวณทางออก
 
ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร

ใช้สีน้ำเงินตกแต่งบริเวณเสาสถานี, ประตูกั้นชานชาลา, ทางขึ้น-ลงสถานี และป้ายบอกทางต่างๆ ในสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ส่วนหลังคาใช้สีเทาเพื่อสื่อว่าเป็นสถานีรายทาง

รูปแบบของสถานี

แก้
 
ทัศนียภาพนอกสถานี
 
ชานชาลา
 
รางรถไฟไปยัง สถานีบางอ้อ

เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform) มีประตูกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง (Half Height Platform Screen Doors : HHPSDs)

การจัดพื้นที่ในตัวสถานี

แก้

แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย

  • 3 ชั้นชานชาลา (Platform level)
  • 2 ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร, เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
  • 1 ชั้นระดับถนน (Ground level)

ทางเข้า-ออกสถานี

แก้
  • 1 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 81 , วัดบางพลัด
  • 2 สำนักงานเขตบางพลัด
  • 3 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 76
  • 4 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 72 , วัดอาวุธวิกสิตาราม , วัดภาณุรังษี

เวลาให้บริการ

แก้
ปลายทาง วัน ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายเฉลิมรัชมงคล[3]
ชานชาลาที่ 1
BL38 หลักสอง
(ผ่านบางซื่อ)
จันทร์ - ศุกร์ 05:50 23:24
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
06:01 23:24
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง - 23:15
ชานชาลาที่ 2
BL01 ท่าพระ จันทร์ - ศุกร์ 05:50 00:13
เสาร์ - อาทิตย์
นักขัตฤกษ์
05:57 00:13

รถโดยสารประจำทาง

แก้

ถนนจรัญสนิทวงศ์

แก้
  •   เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

รถเอกชน

แก้
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
18 (2-3)   ตลาดท่าอิฐ   อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
110 (2-35)   ประชานิเวศน์ 3 เทเวศร์ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
110 (2-35) รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
170 (4-49)   บรมราชชชนี (สน.คู่ขนานลอยฟ้า)   สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
175 (2-22)   ท่าน้ำนนทบุรี ถนนตก
203 ท่าอิฐ สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีส้ม
2.รถโดยสารประจำทางสีชมพู
บจก.บางกอก 118
203 3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเหลือง
4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
  • ถนนจรัญสนิทวงศ์ : สาย 18 110 203 2-22(175) 4-49(170) กะป๊อเขียว รพ.ยันฮี - สายใต้ใหม่
  • ซอยจรัญสนิทวงศ์ 75 (ซอยภาณุรังษี) : กะป๊อเขียว วัดจันทบางกรวย - ใต้สะพานกรุงธน

อ้างอิง

แก้
  1. Sriyananda Selley, Dhipkawee. "MRT Blue Line extension through Chinatown to launch free test rides in July". BK. Asia City Online. สืบค้นเมื่อ 15 August 2019.
  2. "MRT เปิดทดลองฟรี! 4สถานี 4ธันวา" (Press release). 2019-12-04. สืบค้นเมื่อ 2019-12-05.
  3. "รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ตารางเดินรถไฟฟ้า". www.mrta.co.th.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้