พระพิฆเนศ แก้

กำหนดการ
วันที่เสนอ26 พฤษภาคม 2563
เส้นตายรอบแรก9 มิถุนายน 2563
เส้นตายรอบสอง23 มิถุนายน 2563
เสนอชื่อโดย Chainwit. (คุย)
สนับสนุน
  1.   เห็นด้วย --Timekeepertmk (คุย) 23:58, 23 มิถุนายน 2563 (+07)[ตอบกลับ]
  2.   เห็นด้วย --Mr.CN (คุย) 11:14, 24 มิถุนายน 2563 (+07)[ตอบกลับ]
คัดค้าน
เสนอแนะการปรับปรุง
  1. เนื้อหาบางประโยคเป็นข้อความจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ --Horus (พูดคุย) 11:29, 26 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
  2. ควรแปลเพิ่มส่วน Om, First chakra, Rise to prominence, Beyond India and Hinduism ในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษรุ่นปัจจุบัน --Horus (พูดคุย) 11:29, 26 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    @Horus:   สำเร็จ ได้ปรับและแปลครบหมดแล้วครับ รวมถึงบางประโยคที่เป็นภาษาอังกฤษทั้งในเนื้อหาและอ้างอิงแปลหมดเรียบร้อยครับ --Chainwit. (คุย) 19:23, 26 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    ลองตรวจสอบทั้งบทความดูนะครับ ควรแปลเพิ่มทั้งหมดเลยครับ (อาจจะสื่อสารไม่เคลียร์เอง) --Horus (พูดคุย) 19:50, 26 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    @Horus:   สำเร็จ แปลมาจากวิกิอังกฤษครบทุกส่วน ทุกพารากราฟ ทุกประโยค เรียบร้อยแล้วครับ มีส่วนไหนต้องปรับปรุงเพิ่มไหมครับ ——Chainwit. (คุย) 19:47, 27 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    ตกหล่นบางประโยคครับ
    • "Winternitz also notes that a distinctive feature in South Indian manuscripts of the Mahabharata is their omission of this Ganesha legend.[194] The term vināyaka is found in some recensions of the Śāntiparva and Anuśāsanaparva that are regarded as interpolations.[195] A reference to Vighnakartṛīṇām ("Creator of Obstacles") in Vanaparva is also believed to be an interpolation and does not appear in the critical edition." (Vedic)
    • "Adi Shankara instituted the tradition primarily to unite the principal deities of these five major sects on an equal status. This formalised the role of Ganesha as a complementary deity." (Puranic)
    • "One of the most important Sanskrit texts that enjoys authority in Ganapatya tradition, according to John Grimes, is the Ganapati Atharvashirsa" (Scriptures)
    • "Commercial and cultural contacts extended India's influence in Western and Southeast Asia. Ganesha is one of a number of Hindu deities who consequently reached foreign lands"
    • "Before the arrival of Islam, Afghanistan had close cultural ties with India, and the adoration of both Hindu and Buddhist deities was practised. Examples of sculptures from the 5th to the 7th centuries have survived, suggesting that the worship of Ganesha was then in vogue in the region" (Beyond India ...) --Horus (พูดคุย) 20:52, 27 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    @Horus:   ครบแล้วครับ ขอบคุณมาก ๆ ครับ ละเอียดจริง ๆ --Chainwit. (คุย) 23:53, 27 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    ตก "Paul Courtright says that Ganesha's dharma and his raison d'être is to create and remove obstacles" ในส่วน Removal of obstacles ครับ --Horus (พูดคุย) 22:16, 28 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    "In northern India, Skanda was an important martial deity from about 500 BCE to about 600 CE, after which worship of him declined significantly. As Skanda fell, Ganesha rose. Several stories tell of sibling rivalry between the brothers[116] and may reflect sectarian tensions" --Horus (พูดคุย) 18:20, 29 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    "Ganesha temples have also been built outside of India, including Southeast Asia, Nepal (including the four Vinayaka shrines in the Kathmandu Valley),[151] and in several western countries" --Horus (พูดคุย) 11:40, 31 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    @Horus:   เรียบร้อยครับ ขอบคุณมาก ๆ ครับ ขอโทษด้วยนะครับที่รบกวนคุณเยอะเลย แหะ ๆ ——Chainwit. (คุย) 21:14, 1 มิถุนายน 2563 (+07)[ตอบกลับ]
  3. ขอให้เพิ่มภาพและ caption ตามวิกิพีเดียภาษาอังกฤษด้วยครับ --Horus (พูดคุย) 20:52, 27 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
      เรียบร้อยครับ อาจจะมีบางภาพที่ไม่ได้ใส่เพราะภาพจะอัดกันแน่นจนไม่สวยและไม่ได้ช่วยให้เข้าใจเนื้อความดีขึ้น (พอแปลมาแล้วมันสั้นลงเป็นธรรมดาน่ะครับ เลยทำให้บางภาพอาจจะใส่แล้วพอในหน้าอังกฤษ แต่ไม่พอในหน้าไทย เช่นรูป "Dancing Ganesh. Central Tibet. Early fifteenth century. Colours on cotton. Height: 68 centimetres" ในส่วนสุดท้ายก็ไม่ได้ใส่มา เพราะที่ไม่พอครับ) และก็มีบางรูปที่ส่วนตัวหารูปอื่นมาแทนคือเป็นภาพที่ได้ความหมายเดียวกัน ไม่ทำให้ความเข้าใจเพี้ยนครับ เช่นรูปหลักในกล่องข้อมูล (เพราะรู้สึกภาพในหน้าภาษาอังกฤษที่ใช้ไม่ได้พิเศษขนาดนั้น ใช้รูปที่ผมเลือกมามันเป็น featured ด้วย รายละเอียดครบกว่าด้วย แต่ยังสื่อความหมายได้เหมือนกัน เช่นเดียวกับในวิกิพีเเดียภาษาอื่น ๆ ที่ได้ดาวอย่าง มราฐี และ โอริษา ก็ใช้รูปคนละรูปกันหมดครับ) ขอบคุณมากครับบบบบ --Chainwit. (คุย) 23:53, 27 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
ความเห็น
  1. เห็นส่วนใหญ่ออกพระนามว่า "พระคเณศ" แบบอินเดีย คิดว่าควรเปลี่ยนชื่อบทความเป็นพระคเณศด้วยไหมครับ --Horus (พูดคุย) 00:54, 28 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
    @Horus: ในไทยคุ้นกับพระนามพระพิฆเนศ / พระพิฆเนศวร มากกว่านะครับ สังเกตจากผลเสิร์ชในกูเกิ้ลภาษาไทย “พระคเณศ” พบ 659,000 results แต่ “พระพิฆเนศ” พบ 2,550,000 results แต่อันนี้ผมเขียนเป็น “คเณศ” เพราะส่วนตัวเคยชินกับการใช้คำว่า “คเณศ” ตามสันสกฤตมากกว่า ถ้าเห็นสมควรว่าให้เปลี่ยน “คเณศ” ที่ผมแปลไว้ในบทความเป็น “พิฆเนศ” ทั้งหมดแทน ก็ยินดีครับ ——Chainwit. (คุย) 01:31, 28 พฤษภาคม 2563 (+07)[ตอบกลับ]
  2. ครบกำหนดเส้นตายที่สองแล้ว ขอให้พิจาณาด้วยครับ @ADMIN --Mr.CN (คุย) 14:33, 30 มิถุนายน 2563 (+07)[ตอบกลับ]