วันชัย (9 พฤษภาคม)
วันชัย[a 1] หรือ 9 พฤษภาคม เป็นเครื่องหมายการยอมจำนนของนาซีเยอรมนีต่อสหภาพโซเวียตในสงครามโลกครั้งที่สอง (ในสหภาพโซเวียต เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มหาสงครามของผู้รักชาติ) เริ่มครั้งแรกในสิบหกสาธารณรัฐแห่งสหภาพโซเวียต ให้หลังการลงนามตราสารยอมจำนนในคืนวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 (เป็นเวลาหลังเที่ยงคืน จึงเป็นวันที่ 9 พฤษภาคม ตามเวลามอสโก) รัฐบาลโซเวียตประกาศชัยชนะในเช้าวันที่ 9 พฤษภาคมหลังพิธีลงนามในกรุงเบอร์ลิน แม้วันดังกล่าวเริ่มอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 1945 (ซึ่งหมายความว่ามีการเฉลิมฉลองตั้งแต่ ค.ศ. 1946) แต่วันหยุดนี้เป็นวันมิใช่แรงงานก็ใน ค.ศ. 1965 และเฉพาะในบางประเทศ ทางรัฐบาลได้มีการจัดเดินสวนสนามทางทหาร ณ จัตุรัสแดงกลางเมืองในกรุงมอสโกเพื่อเป็นการแสดงแสนยานุภาพของกองทัพแดงและรำลึกเหล่าทหารผ่านศึกอีกด้วย แม้ว่าสหภาพโซเวียตจะล่มสลายไปแล้ว แต่สหพันธรัฐรัสเซียก็ยึดถือปฏิบัติตามเดิมจวบจนทุกวันนี้
วันชัย | |
---|---|
Victory Day celebrations in Moscow, 9 May 2005 | |
ชื่อทางการ | รัสเซีย: День Победы |
จัดขึ้นโดย | รัสเซียและกลุ่มประเทศในอดีตสหภาพโซเวียต ดูที่ วันชัยในทวีปยุโรป |
วันที่ | 9 พฤษภาคม |
ความถี่ | annual |
รูปภาพ
แก้-
Celebrations at the Mother Arnenia monument in Yerevan.
-
ประธาน อิลฮัม อะลีเยฟ กับทหารผ่านศึก.
-
งานสวนสนามวันชัยในเมืองมินสค์
-
ทหารผ่านศึกสงครามโลกครั้งที่สองในเบลารุสในขบวนพาเหรดวันประกาศอิสรภาพในมินสค์
-
อนุสาวรีย์แห่งชัยชนะในประเทศอิสราเอล
-
รถถังหลักแบบที 72 ในงานสวนสนามวันชัยในปีค.ศ. 2015.
-
Victory Day celebrations in Victory Park (Riga).
-
ทหารในระหว่างการเดินสวนสนาม จัตุรัสแดง ในปี 2017.
-
วันชัยในปีค.ศ.1980
-
A Victory Day Parade in Dushanbe
-
South Ossetian troops at the victory day parade in 2018.
-
Victory day in Tiraspol, 2017.
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้- ↑
รัสเซีย: День Победы, Den' Pobedy
ยูเครน: День Перемоги, Den' Peremohy
เบลารุส: Дзень Перамогі, Dzień Pieramohi
อุซเบก: Gʻalaba kuni, Ғалаба куни
คาซัค: Jeñis Küni, Жеңіс Күні
จอร์เจีย: გამარჯვების დღე, gamarjvebis dghe
อาเซอร์ไบจาน: Qələbə Günü
โรมาเนีย: Ziua Victoriei (Moldovan Cyrillic: Зиуа Викторией)
คีร์กีซ: Жеңиш майрамы, Jengish Mayramy
ทาจิก: Рӯзи Ғалаба, Rūzi Ghalaba
อาร์มีเนีย: Հաղթանակի օրը, Haght'anaki ory
เติร์กเมน: Ýeňişlar Harçlaarsiň, Йеңишлар Харчлаарсиң
ฮีบรู: יום הניצחון, อักษรโรมัน: Yom ha-Nitzachon
อาหรับ: عيد النصر, อักษรโรมัน: ʿĪd ā(l)-Naṣr