มหาโพธิวิหาร
มหาโพธิวิหาร (ฮินดี: महाबोधि विहार วิหารแห่งการตรัสรู้อันยิ่งใหญ่) เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก ซึ่งเป็นพุทธศาสนสถานเก่าแก่แต่ได้ถูกสร้างใหม่และบูรณะอยู่หลายครั้ง ตั้งอยู่ในเมืองพุทธคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย สร้างขึ้นตรงจุดที่เชื่อว่าพระโคตมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า[1]
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
---|---|
มหาโพธิวิหาร | |
ที่ตั้ง | พุทธคยา, รัฐพิหาร, ประเทศอินเดีย |
เกณฑ์พิจารณา | Cultural: i, ii, iii, iv, vi |
อ้างอิง | 1056 |
ขึ้นทะเบียน | 2002 (สมัยที่ 26th) |
พื้นที่ | 4.86 ha |
พิกัด | 24°41′46″N 84°59′29″E / 24.6960°N 84.9913°E |
ภายในพื้นที่มีต้นไม้ที่สืบมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ และเป็นจุดหมายปลายทางของการแสวงบุญของทั้งชาวพุทธและฮินดูเป็นเวลามากกว่าสองพันปี และมีองค์ประกอบบางส่วนที่มีอายุจากช่วงรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช (สวรรคตราว 232 ปีก่อนคริสตกาล) สิ่งที่ปรากฏในหมู่อาคารในปัจจุบันนั้นสร้างขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 หรือก่อนหน้า รวมถึงได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างไรก็ตามองค์ประกอบต่าง ๆ อาจประกอบด้วยงานจากยุคต่าง ๆ บางชิ้นอาจเก่าแก่ถึงคริสต์ศตวรรษที่สองถึงสาม[2]
อาคารสร้างเลียนแบบ
แก้เจดีย์ของมหาโพธิวิหารได้เป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมที่ถูกนำไปสร้างเลียนแบบมากที่สุดชิ้นหนึ่งในศาสนาพุทธ[3] เช่น
- วัดเจินเจฺว๋ ปักกิ่ง ประเทศจีน
- วัดมหาโพธิ พุกาม ประเทศพม่า
- วัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
- มหาโพธิเจดีย์ ประเทศพม่า
- สัตตสัตตามหาโพธิเจดีย์ ประเทศพม่า
- วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย[4]
- วัดมหาธาตุวชิรมงคล (วัดบางโทง) จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย
- วัดปานุราชประชาสรรค์ จังหวัดกระบี่ ประเทศไทย
- วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี จังหวัดสมุทรปราการ ประเทศไทย
- พระพุทธเจดีย์ไพรบึง จังหวัดศรีสะเกษ
ประเทศไทย
- วัดเขารูปช้าง จังหวัดสงขลา ประเทศไทย
- วัดปัญญานันทาราม จังหวัดปทุมธานี ประเทศไทย
- วัดเบญจคีรีนคร จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย
- วัดจองคำ จังหวัดลำปาง ประเทศไทย
- วัดบางบอน กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
- วัดธรรมมงคลเถาบุญนนทวิหาร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
อ้างอิง
แก้- ↑ "World Heritage Day: Five must-visit sites in India". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-14.
- ↑ Harle, 201; Michell, 228–229
- ↑ The Mahabodhi temple: pilgrim souvenirs of Buddhist, J. Guy, Burlington Magazine, 1991, 133, 3560357
- ↑ "Wat Yan & Chinese museum Viharn Sien, Pattaya | Self-guided tour | Thailand guide book". Thailand.FalkTime (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2019-04-30. สืบค้นเมื่อ 2019-05-30.
บรรณานุกรม
แก้- Harle J.C., The Art and Architecture of the Indian Subcontinent, 1994, Yale University Press Pelican History of Art, ISBN 0300062176
- Michell, George, The Penguin Guide to the Monuments of India, Volume 1: Buddhist, Jain, Hindu, 1989, Penguin Books, ISBN 0140081445
อ่านเพิ่ม
แก้- Horner, I.B. (trans.) (1975; reprinted 2000). The Minor Anthologies of the Pali Canon (Part III): 'Chronicle of Buddhas' (Buddhavamsa) and 'Basket of Conduct' (Cariyapitaka). Oxford: Pali Text Society. ISBN 0-86013-072-X.
- Doyle, Tara N. (2003-09-11). Liberate the Mahabodhi Temple! Socially Engaged Buddhism, Dalit-Style. In: Steven Heine, Charles Prebish (eds), Buddhism in the Modern World. Oxford University Press. pp. 249–280. ISBN 0-19-514698-0.
- Kinnard, Jacob N. (1998). When Is The Buddha Not the Buddha? The Hindu/Buddhist Battle over Bodhgayā and Its Buddha Image, Journal of the American Academy of Religion 66 (4), 817–839
- Knopf, Rainer (2000). Bodh-Gaya: Ein internationales Zentrum des Buddhismus in nicht-buddhistischer Umgebung เก็บถาวร 2020-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Internationales Asienforum 31 (3–4), 289–314
- An Introduction to Indian Art (PDF). NCERT. 2012. ISBN 978-93-5007-187-8.
- von Schroeder, Ulrich (2001). Buddhist Sculptures in Tibet. Vol. One: India & Nepal; Vol. Two: Tibet & China. Hong Kong: Visual Dharma Publications, Ltd. ISBN 962-7049-07-7. Mahãbodhi temple, known to the Tibetans as rDo rje gdan («dorje den») (Skt.: Vajrāsana), pp. 103, 212, 216, 219, 246, 320–351, 356, 360, 369, 395–396, 677, 707–708, 870, 1242; Fig. IV–1. Replicas of the Mahābodhi temple in Tibet, pp. 321–351; Figs. IV–2–5; Pls. 111, 112, 113A–C, 113D–F, 114A–C, 114D–F, 115A–C, 115D–F.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Land Enlightenment of the Buddha
- Mahabodhi Temple and attraction around it เก็บถาวร 2 พฤษภาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Bodhgaya News เก็บถาวร 2008-03-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- UNESCO World Heritage