วอลเลย์บอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย

วอลเลย์บอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอล ชายและหญิง สำหรับทีมสโมสรวอลเลย์บอล ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี และในปัจจุบัน จัดโดยสหพันธ์วอลเลย์บอลแห่งเอเชีย

ประเภททีมชาย แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1999
รายละเอียด
 
เหอเฝย์
 
เสฉวนฝูหลัน
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ  
ซัมซุง ฟายเออร์
 
เพย์กอนเตหะราน
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ  
เฉิงตูเอินเหว่ย์
2000
รายละเอียด
 
สุพรรณบุรี
 
ซัมซุง ฟายเออร์
3–1  
เพย์กอนเตหะราน
 
จิน ฮาน หวัง
3–1  
พีทีที
2001
รายละเอียด
 
ซี่ฮง
 
ซัมซุง ฟายเออร์
3–0  
ซันโตรีซันเบิร์ดส์
 
เซี่ยงไฮ้ เคเบิล ทีวี
3–1  
สีชวน ฝูหลัน
2002
รายละเอียด
 
เตหะราน
 
เพย์กอนเตหะราน
3–1  
ซอนอม เตหะราน
 
อาเตอเรา
3–1  
อัลรัยยาน
2004
รายละเอียด
 
เตหะราน
 
ซอนอม เตหะราน
3–0  
เพย์กอนเตหะราน
 
อาเตอเรา
3–0  
เซี่ยงไฮ้ โอเรียนเต็ล
2005
รายละเอียด
 
อิสลามาบาด
 
ราหัต ซีเอสเคเอ
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ  
ซอยพอเตหะราน
 
เซี่ยงไฮ้ โอเรียนเต็ล
ไม่มีรอบเพลย์ออฟ  
ฮาบิบแบงก์ลิมิเต็ด
2006
รายละเอียด
 
ฮานอย
 
เพย์กอนเตหะราน
3–1  
ราฮัต ซีเอสเคเอ
 
จาการ์ตา เบเอ็นอี ตาปลุส
3–2  
อาร์มี่
2007
รายละเอียด
 
มานามา
 
เพย์กอนเตหะราน
3–0  
อัลฮิลาล
 
อัลอะเราะบี
3–1  
อันนัจญ์มะฮ์
2008
รายละเอียด
 
อัลมาเตอ
 
เพย์กอนเตหะราน
3–1  
ราหัต ซีเอสเคเอ
 
ซันโตรีซันเบิร์ดส์
3–2  
อันนัศร์
2009
รายละเอียด
 
ดูไบ
 
เพย์กอนเตหะราน
3–0  
อัลฮิลาล
 
อัลอะเราะบี
3–0  
อันนัศร์
2010
รายละเอียด
 
เฉินเจียง
 
เพย์กอนเตหะราน
3–1  
อัลอะเราะบี
 
พานาโซนิคแพนเทอส์
3–0  
เซี่ยงไฮ้ถังไดนาสตี
2011
รายละเอียด
 
ปาเลมบัง
 
เพย์กอนเตหะราน
3–0  
อัลมาเตอ
 
เซี่ยงไฮ้ถังไดนาสตี
3–0  
โอซากะเบลเซอส์ซาไก
2012
รายละเอียด
 
เซี่ยงไฮ้
 
อัลอะเราะบี
3–1  
เซี่ยงไฮ้ถังไดนาสตี
 
แคเลฮ์ มอแซนแดรอน
3–0  
อัลมาเตอ
2013
รายละเอียด
 
เตหะราน
 
แคเลฮ์ มอแซนแดรอน
3–0  
อัลรัยยาน
 
ไต้หวันพาวเวอร์
3–0  
เหลียวหนิง
2014
รายละเอียด
 
ปาไซ
 
แมทินแวรอมีน
3–1  
อัลรัยยาน
 
เป่ยจิงบีเอไอซีมอเตอร์
3–0  
โกงดันซัต-ฌัยก์มูไน
2015
รายละเอียด
 
ไทเป
 
ไทจงแบงก์
3–1  
อัลอะเราะบี
 
เพย์กอนเตหะราน
3–1  
ปัฟโลดาร์
2016
รายละเอียด
 
เนปยีดอ
 
แซร์มอเยแบงก์เตหะราน
3–1  
อัลอะเราะบี
 
โทะโยะดะโกเซย์ตเรฟวยร์ซา
3–2  
เซี่ยงไฮ้โกลเดนเอจ
2017
รายละเอียด
 
นามดิ่ญ / นิญบิ่ญ
 
แซร์มอเยแบงก์เตหะราน
3–0  
โทโยดะโกเซย์เตรฟวยร์ซา
 
อัลอะเราะบี
3–1  
อัลไต
2018
รายละเอียด
 
เนปยีดอ
 
กอทอม แอร์ดอกอน
3–0  
อาเตอเรา
 
วัปดา
3–2  
ซาเนสต์คั้ญฮหว่า
2019
รายละเอียด
 
ไทเป
 
แชฮ์รดอรี วอรอมิน
3–2  
พานาโซนิคแพนเทอส์
 
อัลรอยยัน
3–0  
เจนไนสปาร์ตันส์
2021
รายละเอียด
 
นครราชสีมา
 
ฟูลาด ซีร์จาน
3–1  
อัล-อาราบี
 
บูเรเวสต์นิก อัลมาตี
3–0  
นครราชสีมา คิวมินซี
2022
รายละเอียด
 
เตหะราน
 
เพย์กอนเตหะราน
3–2  
ซันโทรี่ซันเบิดส์
 
แชฮ์ดอบ แยซด์
3–0  
ตารัซ
2023
รายละเอียด
 
มานามา
 
ซันโทรี่ซันเบิดส์
3–1  
จาการ์ตาบายังการาเปรซีซี
 
โปลิศ เอสซี
3–1  
แชฮ์ดอบ แยซด์

ตารางเหรียญการแข่งขัน แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  อิหร่าน164424
2  เกาหลีใต้2103
3  กาตาร์16512
4  คาซัคสถาน1438
  ญี่ปุ่น1438
6  จีน1157
7  จีนไทเป1012
8  ซาอุดีอาระเบีย0202
9  อินโดนีเซีย0112
10  ปากีสถาน0011
รวม (10 ประเทศ)23232369

ผู้เล่นทรงคุณค่า แก้

ประเภททีมหญิง แก้

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1999
รายละเอียด
 
อุบลราชธานี
 
แอลจี คัลเทคส์
ไม่มีการแข่งขัน  
อโรทัย
 
เซี่ยงไฮ้ เคเบิล ทีวี
ไม่มีการแข่งขัน  
ออลมาร์ ไดนาโม
2000
รายละเอียด
 
เฉาชิ่ง
 
เซี่ยงไฮ้ เคเบิล ทีวี
ไม่มีการแข่งขัน  
เอ็นอีซี เรด ร็อกเกตส์
 
เจอเจียง หนานดู
ไม่มีการแข่งขัน  
ฮุนได อีแอนด์ซี กรีนฟ็อกซ์
2001
รายละเอียด
 
นครโฮจิมินห์
 
เซี่ยงไฮ้ เคเบิล ทีวี
3–2  
ฮิซะมิสึสปริงส์
 
อโรทัย
3–1  
ราหัต ซีเอสเคเอ
2002
รายละเอียด
 
กรุงเทพมหานคร
 
ฮิซะมิสึสปริงส์
3–0  
บีอีซี เวิลด์
 
ราหัต อัลมาเตอ
3–1  
เซี่ยงไฮ้ เคเบิล ทีวี
2004
รายละเอียด
 
อัลมาเตอ
 
ราหัต อัลมาเตอ
No playoffs  
ไบ่ยี่ หยี่หยาง
 
ชง ซัน
No playoffs  
อัสตานา อัลมาเตอ
2005
รายละเอียด
 
นิญบิ่ญ
 
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
ไม่มีการแข่งขัน  
ชง ซัน
 
โคเรีย ไฮเวย์ ครอป
ไม่มีการแข่งขัน  
ราหัต ซีเอสเคเอ
2006
รายละเอียด
 
มะนิลา
 
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
ไม่มีการแข่งขัน  
ชง ซัน
 
แสงสม
ไม่มีการแข่งขัน  
ราหัต ซีเอสเคเอ
2007
รายละเอียด
 
หวิญเอียน
 
ราหัต ซีเอสเคเอ
ไม่มีการแข่งขัน  
แสงสม
 
ฮิซะมิสึสปริงส์
ไม่มีการแข่งขัน  
โซแบกุ
2008
รายละเอียด
 
หวิญเอียน
 
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
3–2  
แสงสม
 
โทเรย์แอร์โรส์
3–2  
โซแบกุ
2009
รายละเอียด
 
นครปฐม
 
เฟเดอร์บรอย
3–2  
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
 
โทเรย์แอร์โรส์
3–2  
เซทิสซู อัลมาเตอ
2010
รายละเอียด
 
เกรซิก
 
เฟเดอร์บรอย
3–1  
เซทิสซู อัลมาเตอ
 
เจที มาร์เวลลัส
3–2  
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
2011
รายละเอียด
 
หวิญเอียน
 
ช้าง
3–0  
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
 
เซทิสซู อัลมาเตอ
3–0  
เลิน เวียต โพสต์แบงก์
2012
รายละเอียด
 
นครราชสีมา
 
เทียนจิน บริดจ์สโตนจ์
3–2  
โทเรย์แอร์โรส์
 
ช้าง
3–0  
เซทิสซู
2013
รายละเอียด
 
บวนมาถ็วต
 
กวางตุ้ง เอเวอร์เกวส
3–1  
เซทิสซู อัลมาเตอ
 
พีเอฟยู บลูแคทส์
3–0  
โบ ตง กัง
2014
รายละเอียด
 
นครปฐม
 
ฮิซามิตสึสปริงส์
3–0  
โปไฮ แบงก์ เทียนจิน
 
เซทิสซู อัลมาเตอ
3–0  
จีนไทเป
2015
รายละเอียด
 
ห่านาม
 
บางกอกกล๊าส
3–2  
ฮิซามิตสึสปริงส์
 
เจ้อเจียง
3–0  
ไต้หวันพาวเวอร์
2016
รายละเอียด
 
บีญัน
 
เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์
3–0  
ปาอี เสิ่นเจิ้น
 
บางกอกกล๊าส
3–2  
อัลไต
2017
รายละเอียด
 
อุสต์-คาเมโนกอร์สค์
 
สุพรีม ชลบุรี
3–1  
ฮิซามิตสึสปริงส์
 
เทียนจินโปไฮแบงก์
3–1  
อัลไต
2018
รายละเอียด
 
อุสต์-คาเมโนกอร์สค์
 
สุพรีม ชลบุรี
3–2  
เอ็นอีซี เรดร็อกเก็ตส์
 
เจียงซูเซนิตสตีล
3–2  
อัลไต
2019
รายละเอียด
 
เทียนจิน
 
เทียนจินปั๋วไห่แบงก์
3–1  
สุพรีม ชลบุรี
 
ฮิซามิตสึสปริงส์
3–1  
อัลไต
2021
รายละเอียด
 
นครราชสีมา
 
อัลไต
3–0  
นครราชสีมา คิวมินซี
 
สุพรีม ชลบุรี
3–0  
ไซปา เตหะราน
2022
รายละเอียด
 
เซเมย์
 
กูว์เนิช วีซี
3–2  
อัลไต
 
ไดมอนด์ ฟู้ด-ไฟน์เชฟ
3–1  
บอริจ เอสเซนส์
2023
รายละเอียด
 
หวิญฟุก
 
สปอร์ตเซ็นเตอร์ 1
3–2  
ไดมอนด์ ฟู้ด ไฟน์เชฟ–แอร์ฟอร์ซ
 
เหลียวหนิงตงหัว
3–1  
คิงเวลไทเป

ตารางเหรียญการแข่งขัน แก้

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  จีน85619
2  ไทย67619
3  คาซัคสถาน43310
4  ญี่ปุ่น36615
5  เกาหลีใต้1012
6  เวียดนาม1001
7  จีนไทเป0213
รวม (7 ประเทศ)23232369

ผู้เล่นทรงคุณค่า แก้

อ้างอิง แก้