ลัทธิพาณิชยนิยม

ลัทธิพาณิชยนิยม (อังกฤษ: Mercantilism) เป็นนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติที่ออกแบบมาเพื่อเน้นการส่งออกมากกว่านำเข้า นโยบายนี้มีจุดประสงค์เพื่อลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด หรือให้เกินดุล ลัทธิพาณิชยนิยมยังรวมถึงนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติที่มีจุดประสงค์เพื่อให้มีทุนสำรองระหว่างประเทศจากการได้เปรียบดุลการค้า โดยเฉพาะสินค้าสำเร็จรูป ในประวัติศาสตร์ นโยบายนี้มักนำไปสู่สงครามและผลักดันให้เกิดการขยายอาณานิคม[1]

ลัทธิพาณิชยนิยมมีบทบาทในยุโรปสมัยใหม่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 18 หรือยุคก่อนอุตสาหกรรม (proto-industrialization)[2] ก่อนที่จะเสื่อมไป แม้ว่ามีผู้ออกความเห็นว่ายังคงมีอยู่ในเศรษฐกิจประเทศอุตสาหกรรม[3] ในรูปแบบของการแทรกแซงทางเศรษฐกิจ (economic interventionism)[4][5][6][7][8]

อ้างอิง

แก้
  1. Johnson et al. History of the domestic and foreign commerce of the United States p. 37.
  2. "Mercantilism," Laura LaHaye The Concise Encyclopedia of Economics (2008)
  3. Samuelson 2007.
  4. kanopiadmin (2017-02-15). "Mercantilism: A Lesson for Our Times? | Murray N. Rothbard". Mises Institute (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-05. สืบค้นเมื่อ 2018-09-11.
  5. https://krugman.blogs.nytimes.com/2009/12/31/macroeconomic-effects-of-chinese-mercantilism/?mtrref=www.google.com&mtrref=krugman.blogs.nytimes.com&gwh=4FBA77E3C830475DD4BB0C2EFB0A4E96&gwt=pay
  6. https://www.reuters.com/article/us-china-usa-business/u-s-tech-group-urges-global-action-against-chinese-mercantilism-idUSKBN16N0YJ
  7. https://www.forbes.com/sites/peterpham/2018/03/20/why-do-all-roads-lead-to-china/#51d9ae1e4ac8
  8. https://piie.com/commentary/op-eds/learning-chinese-mercantilism