ลัทธิบูชา
ในทางสังคมวิทยา ลัทธิบูชา[1] (อังกฤษ: Cult) หรือลัทธิ หมายถึง กลุ่มคนที่มีความเชื่อและการปฏิบัติตนแปลกหรือเบี่ยงเบนไปจากคนส่วนใหญ่ในสังคม[2] เนื่องจากระบุลงไปได้ยากว่าเบี่ยงเบนถึงระดับไหนจึงเรียกว่าลัทธิ ทำให้ยังมีปัญหาในการนิยามคำดังกล่าวให้ชัดเจน[3][4] และมักใช้ในความหมายเชิงลบ[5][6]
นักสังคมวิทยาเริ่มให้ความสนใจศึกษาพฤติกรรมทางศาสนาของลัทธิบูชาต่าง ๆ มาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1930 [7] จนพบว่าหลายกลุ่มถูกตีตราว่าเป็นพวกนอกรีต จนถึงขึ้นมีขบวนการต่อต้านลัทธิเกิดขึ้นภายในศาสนาต่าง ๆ
อ้างอิง
แก้- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2549, หน้า 81
- ↑ Stark, Rodney, William Brainbridge (1996). A Theory of Religion. Rutgers University Press. p. 124. ISBN 0813523303.
- ↑ OED, citing American Journal of Sociology 85 (1980), p. 1377: "Cults[...], like other deviant social movements, tend to recruit people with a grievance, people who suffer from a some variety of deprivation."
- ↑ Dr. Chuck Shaw – Sects and Cults – Greenville Technical College – Retrieved 21 March 2013.
- ↑ T.L. Brink (2008) Psychology: A Student Friendly Approach. "Unit 13: Social Psychology." pp 320 [1]
- ↑ Olson, Paul J. 2006. "The Public Perception of “Cults” and “New Religious Movements”." Journal for the Scientific Study of Religion 45 (1): 97–106
- ↑ Erwin Fahlbusch, Geoffrey William Bromiley – The Encyclopedia of Christianity: P-Sh, Volume 4 page 897. Retrieved 21 March 2013.