ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2560 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยมีพายุโซนร้อน 27 ลูก ในจำนวนนี้พัฒนาขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น 11 ลูก และในจำนวนนี้เพียง 2 ลูกที่เป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น พายุที่ได้รับชื่อเป็นลูกแรกของฤดูกาลนี้ชื่อ หมุ่ยฟ้า ก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน ส่วนพายุที่ได้รับชื่อเป็นลูกสุดท้ายชื่อ เท็มบิง สลายตัวเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย ในแง่ของการสะสมพลังงานในพายุหมุนและจำนวนของพายุไต้ฝุ่นและพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ฤดูกาล พ.ศ. 2520 ที่ไม่มีพายุไต้ฝุ่นระดับ 5 ตามมาตราแซฟเฟอร์–ซิมป์สันเลย นอกจากนี้ยังเป็นฤดูที่มีพายุไต้ฝุ่นปรากฏเป็นลูกแรกขึ้นช้าที่สุด นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 โดยพายุไต้ฝุ่นโนรู มีกำลังแรงเป็นถึงพายุไต้ฝุ่นในวันที่ 23 กรกฎาคม

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว7 มกราคม พ.ศ. 2560
ระบบสุดท้ายสลายตัว26 ธันวาคม พ.ศ. 2560
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อแลง
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด915 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมดทางการ 41 ลูก, ไม่เป็นทางการ 1 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด27 ลูก
พายุไต้ฝุ่น11 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น2 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 864 คน
ความเสียหายทั้งหมด1.453 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2017)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2558, 2559, 2560, 2561, 2562

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ของสหรัฐยังได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย

การพยากรณ์ฤดูกาล แก้

วันที่พยากรณ์โดย
TSR
จำนวน
พายุโซนร้อน
จำนวน
พายุไต้ฝุ่น
จำนวน
พายุรุนแรง
ดัชนีเอซีอี อ้างอิง
เฉลี่ย (2508–2559) 26 16 9 297 [1]
5 พฤษภาคม 2560 27 17 10 357 [1]
6 กรกฎาคม 2560 25 15 7 250 [2]
8 สิงหาคม 2560 26 14 7 255 [3]
วันที่พยากรณ์ ศูนย์พยากรณ์ ช่วงเวลา ระบบพายุ อ้างอิง
20 มกราคม 2560 PAGASA มกราคม — มีนาคม 1–2 ลูก [4]
PAGASA เมษายน — มิถุนายน 2–4 ลูก [4]
26 มิถุนายน 2560 CWB 1 มกราคม — 31 ธันวาคม 21–25 ลูก [5]
6 กรกฎาคม 2560 PAGASA กรกฎาคม — กันยายน 6–9 ลูก [6]
PAGASA ตุลาคม — ธันวาคม 3–5 ลูก [6]
ฤดูกาล 2560 ศูนย์พยากรณ์ พายุหมุนเขตร้อน พายุโซนร้อน พายุไต้ฝุ่น อ้างอิง
เกิดขึ้นจริง: JMA 41 27 11
เกิดขึ้นจริง: JTWC 33 26 12
เกิดขึ้นจริง: PAGASA 22 16 4

ในระหว่างฤดูกาล หลายหน่วยงานอุตุนิยมวิทยาและหน่วยงานทางวิทยาศาสตร์ของแต่ละประเทศจะมีการคาดการณ์ของพายุหมุนเขตร้อน, พายุโซนร้อนและพายุไต้ฝุ่น ที่จะก่อตัวในช่วงฤดู และ/หรือ จะมีพายุกี่ลูกที่ส่งผลกระทบต่อประเทศนั้น หลายหน่วยงานนี้ได้รวมไปถึงองค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อน (TSR) ของมหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน, สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) และสำนักสภาพอากาศกลางของไต้หวันด้วย การพยากรณ์แรกของปีถูกเผยแพร่โดย PAGASA เมื่อวันที่ 20 มกราคม ในการคาดการณ์แนวโน้มสภาพภูมิอากาศในช่วงเดือนมกราคมถึงมิถุนายน[4] การคาดการณ์ดังกล่าวบันทึกว่ามีพายุหมุนเขตร้อนหนึ่งถึงสองลูกปรากฏขึ้นในระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม ขณะที่อีกสองถึงสี่ลูกจะก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าสู่พื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ ในระหว่างเดือนเมษายนถึงมิถุนายน[4] ต่อมาเมื่อวันที่ 23 มีนาคม หอสังเกตการณ์ฮ่องกงได้พยากรณ์ว่าฤดูพายุหมุนเขตร้อนปีนี้จะใกล้เคียงกับค่าปกติ คือ มีพายุหมุนเขตร้อนสี่ถึงเจ็ดลูกเข้าใกล้ในระยะ 500 กิโลเมตร (310 ไมล์) ของดินแดนโดยที่ค่าเฉลี่ยอยู่ที่หก[7]

วันที่ 5 พฤษภาคม องค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อน (TSR) ออกคำพยากรณ์แรกสำหรับฤดูกาลนี้ โดยคาดหมายว่ากิจกรรมของฤดูนี้จะมากกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อยโดยมีพายุ 27 ลูกในระดับโซนร้อน ในจำนวนนั้นมีพายุไต้ฝุ่น 17 ลูก และในจำนวนพายุไต้ฝุ่นเป็นพายุไต้ฝุ่นรุนแรง 10 ลูก และมีการสะสมพลังงานในพายุหมุน (ACE) ที่ 357[1] ต่อมาวันที่ 26 มิถุนายน สำนักสภาพอากาศกลางแห่งไต้หวัน ได้คาดการณ์ว่าฤดูกาลนี้จะเป็นปกติ โดยมีพายุ 21—25 ลูกก่อตัวขึ้นในแอ่ง โดยมีพายุสามถึงห้าลูกจะส่งผลกระทบกับไต้หวัน ต่อมาวันที่ 6 กรกฎาคม องค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อนได้ออกการคาดการณ์ฉบับที่สองของฤดูกาล โดยลดจำนวนที่คาดการณ์ไว้เหลือเป็นพายุโซนร้อน 25 ลูก พายุไต้ฝุ่น 15 ลูก และพายุไต้ฝุ่นรุนแรง 7 ลูก พร้อมคาดดัชนีเอซีอีที่ 250[2] ในวันเดียวกันนั้น PAGASA ก็ได้ออกประกาศฉบับที่สองและเป็นการคาดการณ์ภาพรวมฉบับสุดท้ายสำหรับช่วงเดือนกรกฎาคม – ธันวาคมเช่นกัน โดยคาดว่าจะมีพายุหกถึงเก้าลูกก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบในระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน และในเดือนตุลาคมถึงธันวาคมอีกสามถึงห้าลูก ต่อมาวันที่ 8 สิงหาคม องค์การความเสี่ยงพายุโซนร้อนได้ออกการคาดการณ์ฉบับที่สามซึ่งเป็นฉบับสุดท้ายของฤดูกาล โดยเพิ่มจำนวนพายุโซนร้อนขึ้นเป็น 26 ลูก ในจำนวนนี้ 14 ลูกจะเป็นพายุไต้ฝุ่น และ 7 ลูกอาจเป็นได้ถึงพายุไต้ฝุ่นรุนแรง และปรับลดดัชนีเอซีอีลงไปที่ 255[3]

กรมอุตุนิยมวิทยาไทย แก้

เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 กรมอุตุนิยมวิทยา ได้ออกการคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2560 ฉบับปรับปรุงซึ่งมีการคาดการณ์ว่าจะมีพายุหมุนเขตร้อน (ประกอบด้วยพายุดีเปรสชัน พายุโซนร้อน และ พายุไต้ฝุ่น) เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย 2 ลูก โดยมีโอกาสสูงที่จะเคลื่อนผ่านภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือในช่วงเดือนสิงหาคมหรือกันยายน[8]

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ แก้

พายุโซนร้อนหมุ่ยฟ้า แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 22 – 29 เมษายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ดันเต

พายุโซนร้อนกำลังแรงเมอร์บก แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 13 มิถุนายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงนันมาดอล แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 1 – 4 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอมง

พายุโซนร้อนกำลังแรงตาลัส แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 17 กรกฎาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโนรู แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

ดูเพิ่ม: พายุไต้ฝุ่นโนรู (พ.ศ. 2560)

พายุโซนร้อนกุหลาบ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเซินกา แก้

ดูเพิ่ม: พายุโซนร้อนเซินกา (พ.ศ. 2560)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 26 กรกฎาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโรคี แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฟาเบียน

พายุไต้ฝุ่นเนสาท แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 25 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โกรีโย

พายุโซนร้อนไห่ถาง แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฮัวนิง

พายุโซนร้อนนาลแก แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 31 กรกฎาคม – 6 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นบันยัน แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 11 – 17 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นฮาโตะ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 24 สิงหาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อีซัง

พายุโซนร้อนกำลังแรงปาข่า แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 24 – 28 สิงหาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โฮลีนา

พายุไต้ฝุ่นซ้านหวู่ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงมาวาร์ แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 สิงหาคม – 4 กันยายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกูโชล แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 3 – 7 กันยายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กีโก

พายุไต้ฝุ่นตาลิม แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 8 – 17 กันยายน
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ลันนี

พายุไต้ฝุ่นทกซูรี แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 16 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: มาริง

พายุไต้ฝุ่นขนุน แก้

1720 (JMA)・24W (JTWC)・โอเดตต์ (PAGASA)
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 11 ตุลาคม – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นลัง แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 23 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ปาโอโล

พายุโซนร้อนกำลังแรงซาวลา แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 22 – 29 ตุลาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เกดัน

พายุไต้ฝุ่นด็อมเร็ย แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 31 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: รามิล

พายุโซนร้อนไห่ขุย แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 13 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ซาโลเม

พายุโซนร้อนคีโรกี แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 19 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ตีโน

พายุโซนร้อนไคตั๊ก แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 13 – 23 ธันวาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อูร์ดูฮา

พายุไต้ฝุ่นเท็มบิง แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 20 – 26 ธันวาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: บินตา

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 01W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 16 มกราคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอาริง
  • วันที่ 7 มกราคม ทั้ง PAGASA และ JMA ต่างรายงานว่าพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นห่างจากเมืองดาเบาบนเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ไปทางทิศตะวันเฉียงเหนือประมาณ 400 กม. (250 ไมล์)[9][10] ต่อมา ระบบพายุเคลื่อนตัวไปตามแนวส่วนขอบด้านใต้ของลิ่มความกดอากาศสูงกึ่งเขตร้อน (Subtropical ridge) ก่อนที่ JTWC จะเริ่มต้นให้คำแนะนำกับระบบและให้รหัสเรียกขานว่า 01W[11]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนบีซิง แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
   
ระยะเวลา 3 – 7 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 3 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
   
ระยะเวลา 20 – 21 มีนาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 02W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 13 – 20 เมษายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กรีซิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 7 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 22 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1008 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.77 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 9 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 4 – 7 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1010 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.83 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 10 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 13 – 16 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 17 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
 
ระยะเวลา 25 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 23 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 26 – 27 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกที่ 25 แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
 
ระยะเวลา 28 – 29 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 22W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: นันโด

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 23W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 7 – 10 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 26W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 19 ตุลาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 29W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[12] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 km/h (40 mph) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[13] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[12] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[13] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล แก้

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 km/h (40 mph)[14] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[15] โดยรายชื่อด้านล่างจะเป็นรายชื่อ พร้อมเลขรหัสพายุ ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2560 คือ หมุ่ยฟ้า จากชุดที่ 5 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้ายคือ เท็มบิง จากชุดที่ 1 รวมมีชื่อจากชุดรายชื่อถูกใช้ 27 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2560
ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ
ชุดที่ 5 1701 หมุ่ยฟ้า
(Muifa)
ชุดที่ 5 1708 เซินกา
(Sonca)
ชุดที่ 5 1715 ซ้านหวู่
(Sanvu)
ชุดที่ 5 1722 เซาลา
(Saola)
1702 เมอร์บก
(Merbok)
1709 เนสาท
(Nesat)
1716 มาวาร์
(Mawar)
ชุดที่ 1 1723 ด็อมเร็ย
(Damrey)
1703 นันมาดอล
(Nanmadol)
1710 ไห่ถาง
(Haitang)
1717 กูโชล
(Guchol)
1724 ไห่ขุย
(Haikui)
1704 ตาลัส
(Talas)
1711 นัลแก
(Nalgae)
1718 ตาลิม
(Talim)
1725 คีโรกี
(Kirogi)
1705 โนรู
(Noru)
1712 บันยัน
(Banyan)
1719 ทกซูรี
(Doksuri)
1726 ไคตั๊ก
(Kai-tak)
1706 กุหลาบ
(Kulap)
1713 ฮาโตะ
(Hato)
1720 ขนุน
(Khanun)
1727 เท็มบิง
(Tembin)
1707 โรคี
(Roke)
1714 ปาข่า
(Pakhar)
1721 แลง
(Lan)

ฟิลิปปินส์ แก้

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[16] โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อ เป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) และมีกำหนดจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล ค.ศ. 2021 (พ.ศ. 2564) ด้วย[16] ซึ่งรายชื่อทั้งหมดเหมือนเดิมกับครั้งก่อน เว้น ลันนี (Lannie), ซาโลเม (Salome) และ ยัสมิน (Yasmin) ที่ถูกนำมาแทน ลาบูโย (Labuyo), ซันตี (Santi) และ โยลันดา (Yolanda) ที่ถูกถอนไปตามลำดับ[16] ส่วนชื่อที่ไม่ถูกใช้จะถูกทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2560
เอาริง (Auring) ฟาเบียน (Fabian) (1707) กีโก (Kiko) (1717) ปาโอโล (Paolo) (1721) อูร์ดูฮา (Urduja) (1726)
บีซิง (Bising) โกรีโย (Gorio) (1709) ลันนี (Lannie) (1718) เกดัน (Quedan) (1722) บินตา (Vinta) (1727)
กรีซิง (Crising) ฮัวนิง (Huaning) (1710) มาริง (Maring) (1719) รามิล (Ramil) (1723) วิลมา (Wilma) (ไม่ถูกใช้)
ดันเต (Dante) (1701) อีซัง (Isang) (1713) นันโด (Nando) ซาโลเม (Salome) (1724) ยัสมิน (Yasmin) (ไม่ถูกใช้)
เอโมง (Emong) (1703) โฮลีนา (Jolina) (1714) โอเดตต์ (Odette) (1720) ตีโน (Tino) (1725) โซไรดา (Zoraida) (ไม่ถูกใช้)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาลามิด (Alamid) (ไม่ถูกใช้) โกนชิง (Conching) (ไม่ถูกใช้) เอร์นี (Ernie) (ไม่ถูกใช้) เฮราร์โด (Gerardo) (ไม่ถูกใช้) อิสโก (Isko) (ไม่ถูกใช้)
บรูโน (Bruno) (ไม่ถูกใช้) โดลอร์ (Dolor) (ไม่ถูกใช้) โฟลรันเต (Florante) (ไม่ถูกใช้) เอร์นัน (Hernan) (ไม่ถูกใช้) เจอโรม (Jerome) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ แก้

ภายหลังจากฤดูกาล คณะกรรมการไต้ฝุ่นได้ถอนชื่อ ฮาโตะ, ไคตั๊ก และ เท็มบิง ออกจากชุดรายชื่อ และต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ได้มีการคัดเลือกชื่อ ยามาเนโกะ, ยี้นเยิ้ง และ โคอินุ มาทดแทนชื่อดังกล่าวที่ถูกถอนไปตามลำดับ[17] ส่วนรายชื่อของฟิลิปปินส์ ภายหลังจากฤดูกาล PAGASA ได้ถอนชื่อ อูร์ดูฮา (Urduja) และ บินตา (Vinta) ออกจากชุดรายชื่อ เนื่องจากสร้างความเสียหายรวมมากกว่า 1 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์[18] โดยใช้ชื่อ อูวัน (Uwan) และ เบร์เบนา (Verbena) มาทดแทนชื่อดังกล่าวที่ถูกถอนไปตามลำดับ[19]

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2560 ตารางนี้ยังมีภาพรวมของความรุนแรงของระบบ ระยะเวลา บริเวณที่มีผลกระทบกับแผ่นดิน และจำนวนความเสียหายหรือจำนวนผู้เสียชีวิตใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพายุ

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
01W
(อูริง)
7 – 16 มกราคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  เวียดนาม
  กัมพูชา
  ไทย
&0000000000140000000000140 พันดอลลาร์สหรัฐ 1 [20]
บีซิง 3 – 7 กุมภาพันธ์ พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ดีเปรสชัน 20 – 21 มีนาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์ ไม่มี ไม่มี
02W
(กรีซิง)
13 – 20 เมษายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ปาเลา
  ไต้หวัน
&00000000017000000000001.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 10 [21][22]
หมุ่ยฟ้า
(ดันเต)
22 – 29 เมษายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เมอร์บก 10 – 13 มิถุนายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  จีนตอนใต้
ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ดีเปรสชัน 29 มิถุนายน – 1 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท)   ญี่ปุ่น ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
นันมาดอล
(เอมง)
1 – 5 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท)   ญี่ปุ่น &0000000926000000000000926 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 34 [23]
ดีเปรสชัน 4 – 7 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1010 hPa (29.83 นิ้วปรอท)   ไต้หวัน
  หมู่เกาะรีวกีว
ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ดีเปรสชัน 13 – 16 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ตาลัส 14 – 17 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท)   จีนตอนใต้
อินโดจีน
&000000004370000000000043.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 14 [24][25][26]
โนรู 19 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท)   หมู่เกาะตอนใต้ของญี่ปุ่น ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
กุหลาบ 19  – 26 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เซินกา 21  – 25 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท)   จีนตอนใต้
  เวียดนาม
  ลาว
  ไทย
  กัมพูชา
ไม่มี &0000000000000000000000 3 [27][28]
โรคี
(ฟาเบียน)
21  – 23 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  จีนตอนใต้
ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เนสาท
(โกรีโอ)
25 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ดีเปรสชัน 25 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ไห่ถาง
(ฮัวนิง)
27 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  ตะวันออกของจีน
&00000000038320000000003.83 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี [29][30]
นัลแก 31 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
บันยัน 10 – 17 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) เกาะเวก ไม่มี ไม่มี
ฮาโตะ
(อิซัง)
19 – 24 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 965 hPa (28.50 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
&00000068214300000000006.82 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 53 [31][32][33][34]
ปาข่า
(โฮลีนา)
24 – 27 สิงหาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
  ไทย
&0000000115895000000000116 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 12 [31].[35][36]
ดีเปรสชัน 25 – 26 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ซ้านหวู่ 27 สิงหาคม – 3 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา
  ญี่ปุ่น
  รัสเซียตะวันออกไกล
&0000000000000000000000 ไม่ทราบ 1 [37]
ดีเปรสชัน 28 – 29 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
มาวาร์ 30 สิงหาคม – 4 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  ตอนใต้ของจีน
&00000000015100000000001.51 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี [31]
กูโชล
(กีโก)
3 – 7 กันยายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  ตะวันออกของจีน
&0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ตาลิม
(ลันนี)
8 – 17 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 935 hPa (27.61 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา
  ไต้หวัน
  ญี่ปุ่น
  ตะวันออกของจีน
  รัสเซียตะวันออกไกล
&0000000700000000000000700 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 6
ทกซูรี 10 – 16 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
  ลาว
  ไทย
  กัมพูชา
  พม่า
  บังกลาเทศ
&0000000814170000000000814 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 45 [38][39][40][41][31][42]
22W
(นันโด)
23 – 25 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
&0000000000000000000000 เล็กน้อย ไม่มี
23W 7 – 10 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
&0000000573000000000000573 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 109 [42][43]
ขนุน
(โอเดตต์)
11 – 16 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ไต้หวัน
  ตอนใต้ของจีน
  เวียดนาม
&0000000372416400000000$372 ล้าน 1 [31][44]
แลง
(ปาโอโล)
15 – 23 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์
  เกาหลีใต้
  ฟิลิปปินส์
  ญี่ปุ่น
  รัสเซียตะวันออกไกล
&00000010000000000000001 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 17 [43]
26W 18 – 19 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์ เล็กน้อย 14 [45]
เซาลา
(เกดัน)
22 – 29 ตุลาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา
หมู่เกาะแคโรไลน์
  ญี่ปุ่น
&000000002222000000000022.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี
29W 30 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท)   เวียดนาม
  กัมพูชา
  ไทย
  ตอนเหนือของมาเลเซีย
เล็กน้อย 7 [46]
ด็อมเร็ย
(รามิล)
31 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 970 hPa (28.64 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  เวียดนาม
  กัมพูชา
&00000010324251000000001.03 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 151 [47][48][49]
ไห่ขุย
(ซาโลเม)
7 – 13 พฤศจิกายน พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตอนใต้ของจีน
  ตอนกลางเวียดนาม
&00000000043000000000004.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี [50]
คีโรกี
(ตีโน)
16 – 19 พฤศจิกายน พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  ตะวันออกของมาเลเซีย
อินโดจีน
&000000001000000000000010 ล้านสหรัฐอเมริกา 10 [51][52]
ไคตั๊ก
(อูร์ดูฮา)
11 – 23 ธันวาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท)   ฟิลิปปินส์
  มาเลเซีย
  ตอนใต้ของเวียดนาม
&000000005610000000000056.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 54
เท็มบิง 16 – 26 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์
  ฟิลิปปินส์
  มาเลเซีย
  เวียดนาม
&000000004200000000000042 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 266 [53][54][55]
บอละเวน
(อากาโตน)
30 ธันวาคม 2560 – 4 มกราคม 2561 พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์
  ฟิลิปปินส์
ไม่มี 3
สรุปฤดูกาล
42 ลูก 7 มกราคม 2560 – 4 มกราคม 2561   150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) 960 hPa (28.35) นิ้วปรอท)   &000001441886150000000014.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ประมาณ &0000470905597728500000471 พันล้านบาท)[# 1]
864
  1. อ้างอิงอัตราแลกเปลี่ยนที่นำมาใช้จากอัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารแห่งประเทศไทยวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2560

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Saunders, Mark; Lea, Adam (May 5, 2017). Extended Range Forecast for Northwest Pacific Typhoon Activity in 2017 (PDF) (Report). Tropical Storm Risk Consortium. สืบค้นเมื่อ May 5, 2017.
  2. 2.0 2.1 Saunders, Mark; Lea, Adam (July 6, 2017). July Forecast Forecast Update for Northwest Pacific Typhoon Activity in 2017 (PDF) (Report). Tropical Storm Risk Consortium. สืบค้นเมื่อ July 6, 2017.
  3. 3.0 3.1 Saunders, Mark; Lea, Adam (August 7, 2017). August Forecast Forecast Update for Northwest Pacific Typhoon Activity in 2017 (PDF) (Report). Tropical Storm Risk Consortium. สืบค้นเมื่อ August 8, 2017.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Malano, Vicente B (January 20, 2017). January — June 2017 (Seasonal Climate Outlook). PAGASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-29. สืบค้นเมื่อ January 29, 2017.
  5. Cheng, Ming-Dean (June 26, 2017). "Normal Number of Typhoons Expected for 2017; Three to Five May Hit Taiwan" (doc) (Press release). Taiwan Central Weather Bureau. สืบค้นเมื่อ June 26, 2017.[ลิงก์เสีย]
  6. 6.0 6.1 July – December 2017Malano, Vicente B (July 6, 2017). July — December 2017 (Seasonal Climate Outlook). Philippine Atmospheric Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-03. สืบค้นเมื่อ 2017-04-23.
  7. Chi-ming, Shun (March 23, 2017). "Director of the Hong Kong Observatory highlights Observatory's latest developments March 23, 2017". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-15. สืบค้นเมื่อ April 14, 2017.
  8. "การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูฝนของประเทศไทย พ.ศ. 2560". กรมอุตุนิยมวิทยา. May 29, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 29, 2017. สืบค้นเมื่อ May 29, 2017.
  9. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-09. สืบค้นเมื่อ 2017-01-09.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-07. สืบค้นเมื่อ 2017-01-07.
  11. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-08. สืบค้นเมื่อ 2017-01-08.
  12. 12.0 12.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone Summary December 1999". Australian Severe Weather. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-28. สืบค้นเมื่อ October 1, 2013.
  13. 13.0 13.1 The Typhoon Committee (February 21, 2013). "Typhoon Committee Operational Manual 2013" (PDF). World Meteorological Organization. pp. 37–38. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-28. สืบค้นเมื่อ October 1, 2013.
  14. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  15. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-12. สืบค้นเมื่อ December 21, 2014.
  16. 16.0 16.1 16.2 "Philippine Tropical Cyclone Names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ April 18, 2015.
  17. "CMA". www.cma.gov.cn. สืบค้นเมื่อ 2019-03-01.
  18. "Urduja removed from PAGASA name list as damage exceeds P1 billion". GMA News. December 21, 2017.
  19. "PAGASA". bagong.pagasa.dost.gov.ph. สืบค้นเมื่อ 2019-02-24.
  20. "'Auring' damage to agro-fishery in Negros Occidental reaches P7.14M". Sunstar. January 21, 2017.
  21. "'Crising' death toll in Cebu rises to 10". Philstar. April 17, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-04-18. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.
  22. "Capitol pegs Crising damage at P84.8M". Inquirer. April 25, 2017.
  23. "被害1000億円超え 激甚早期指定働きかけ". 毎日新聞 (ภาษาญี่ปุ่น). July 21, 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-25. สืบค้นเมื่อ July 25, 2017.
  24. "gulftoday.ae – Tropical Storm Talas hits Vietnam, leaves one dead". gulftoday.ae. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-17. สืบค้นเมื่อ 2017-07-29.
  25. VnExpress. "9 dead or missing in Vietnam as infrastructure is damaged – VnExpress International".
  26. "Storm-ravaged Vietnamese province closes beaches with Sonca bearing down". VN Express. July 25, 2017.
  27. http://m.phnompenhpost.com/national/flooded-areas-vacated
  28. http://reliefweb.int/report/thailand/sonca-storm-leaves-ruinous-signature
  29. "Agricultural losses from Typhoon Nesat exceed NT$60 million – Focus Taiwan".
  30. "พายุไต้ฝุ่นs Nesat, Haitang inflict NT$176 million in damages to agriculture".
  31. 31.0 31.1 31.2 31.3 31.4 China Meteorological Agency (November 26, 2017). Member Report: China (PDF). ESCAP/WMO Typhoon Committee: 12th Integrated Workshop. ESCAP/WMO Typhoon Committee. p. 16. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ December 3, 2013. สืบค้นเมื่อ November 26, 2017.
  32. Nikki Sun (23 August 2017). "Typhoon Hato could cause HK$8 billion in losses after No 10 signal storm brought Hong Kong to standstill". South China Morning Post.
  33. "Typhoon Hato losses around MOP12.55 billion". Macau News Agency. February 22, 2018. สืบค้นเมื่อ September 7, 2018.
  34. NAM, BAO NONG NGHIEP VIET (29 August 2017). "Bắc Kạn thiệt hại nặng do mưa bão số 6". Nongnghiep.vn. สืบค้นเมื่อ 31 August 2017.
  35. "Storm Pakhar displaces 929 families in Philippines". Anadolu Agency. August 27, 2017.
  36. web24h.vn. "Hoàn lưu bão số 7 gây thiệt hại khoảng 2 tỷ đồng". backantv.vn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-22. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.
  37. "'Drowning victim swimming with brother when they got swept outside reef'".
  38. "Miền Trung thiệt hại hơn 11 nghìn tỷ đồng do bão Doksuri". VN Express. September 19, 2017.
  39. "Bão số 10 làm 11 người chết, 1 người mất tích và 28 người bị thương". 16 September 2017.
  40. Tư, Báo Điện tử Nhà Đầu. "Miền Trung thiệt hại hơn 16.000 tỷ đồng, nhiều gia đình vườn không nhà trống do bão số 10".
  41. "Vientiane Times". www.vientianetimes.org.la. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-01. สืบค้นเมื่อ 2018-01-20.
  42. 42.0 42.1 https://www.gso.gov.vn/default.aspx?tabid=621&ItemID=18668
  43. 43.0 43.1 "Global Catastrophe Recap October 2017" (PDF). thoughtleadership.aonbenfield.com. Aon Benfield. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-11-15. สืบค้นเมื่อ November 9, 2017.
  44. "SitRep No.08 re Preparedness Measures and Effects of Tropical Storm "ODETTE"" (PDF). NDRRMC. October 20, 2017.
  45. "Landslides, floods leave 14 dead in Zamboanga". Malaya. October 22, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-23. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.
  46. "Umno man wants Penang govt to give RM2,000 to flood victims". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-15. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.
  47. http://sggp.org.vn/thiet-hai-do-thien-tai-gay-ra-len-den-53200-ty-dong-485282.html
  48. Jason De Asis (November 4, 2017). "Ramil-triggered floods damage P1-M agri crops in Baler". Philippine Canadian Inuirer. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-03. สืบค้นเมื่อ 2018-01-20.
  49. "8 dead from latest storm". Press Reader. November 4, 2017.
  50. "Update SitRep No.7 re Preparedness Measures and Effects of Tropical Storm SALOME" (PDF). NDRRMC. November 14, 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-31. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.
  51. http://sggp.org.vn/10-nguoi-chet-va-mat-tich-o-mien-trung-vi-mua-lu-khong-khi-lanh-484914.html
  52. "Global Catastrophe Recap November 2017" (PDF). thoughtleadership.aonbenfield.com. Aon Benfield. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-12. สืบค้นเมื่อ December 7, 2017.
  53. "Search for ferry accident survivors continues, 5 dead". ABS CBN. December 22, 2017.
  54. "Death toll from Tropical Storm Vinta breaches 200". Rappler. สืบค้นเมื่อ December 24, 2017.
  55. "SitRep No.26 for Preparedness Measures and Effects of Typhoon "VINTA"" (PDF). NDRRMC. NDRRMC. February 11, 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-01-28. สืบค้นเมื่อ 2020-09-11.


แหล่งข้อมูลอื่น แก้