ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2546 ในฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่มีการกำเนิดพายุหมุนเขตร้อนต่ำกว่าค่าเฉลี่ยเล็กน้อย โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ในภาพรวม มีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้น 45 ลูก ในจำนวนนี้ 21 ลูกพัฒนาเป็นพายุโซนร้อน และได้รับชื่อ และในจำนวนพายุโซนร้อน มีพายุ 14 ลูกพัฒนาขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่น ในฤดูกาลนี้ ทุกเดือนเว้นเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้น พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นในฤดูกาลนี้ส่งผลกระทบกับประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศจีน คาบสมุทรเกาหลี คาบสมุทรอินโดจีน และหมู่เกาะหลายหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว15 มกราคม พ.ศ. 2546
ระบบสุดท้ายสลายตัว27 ธันวาคม พ.ศ. 2546
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อแมมี
 • ลมแรงสูงสุด195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด910 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด45 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด21 ลูก
พายุไต้ฝุ่น14 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น5 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด360 คน
ความเสียหายทั้งหมด5.73 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2003)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2544, 2545, 2546, 2547, 2548

พายุที่ได้รับชื่อเป็นลูกแรกของฤดูกาลนี้คือ ยันยัน ก่อตัวขึ้นทางตะวันตกของหมู่เกาะมาร์แชลล์เมื่อวันที่ 15 มกราคม ต่อมาในเดือนเมษายน พายุไต้ฝุ่นคูจิระ กลายเป็นหนึ่งในพายุที่มีช่วงเวลายาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ของพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก ต่อมาพายุไต้ฝุ่นอิมบูโดในเดือนกรกฎาคม สร้างความเสียหายอย่างมหาศาลให้กับประเทศฟิลิปปินส์และประเทศจีน ในเดือนกันยายน พายุไต้ฝุ่นแมมีกลายเป็นหนึ่งในพายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของประเทศเกาหลีใต้ นอกจากนี้แมมียังเป็นพายุที่ทรงพลังที่สุดในฤดูกาล โดยมีความกดอากาศต่ำที่สุด 910 มิลลิบาร์ ในเดือนพฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่นลูปิตทำให้เกิดความเสียหายกับรัฐยาปในสหพันธรัฐไมโครนีเชีย โดยฤดูกาลนี้ปิดท้ายด้วยการสลายตัวของพายุดีเปรสชันเขตร้อน ทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ ในวันที่ 27 ธันวาคม

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ของสหรัฐยังได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย[1]

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ แก้

พายุโซนร้อนยันยัน แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 20 มกราคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคูจิระ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 25 เมษายน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อามัง

พายุไต้ฝุ่นจันหอม แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 27 พฤษภาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงหลิ่นฟา แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 25 – 30 พฤษภาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เชเดง

พายุโซนร้อนกำลังแรงนังกา แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โดโดง

พายุไต้ฝุ่นเซาเดโลร์ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 19 มิถุนายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอไก

พายุไต้ฝุ่นอิมบูโด แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 25 กรกฎาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
935 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.61 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฮารูโรต

พายุโซนร้อนกำลังแรงโคนี แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กีลัส

พายุโซนร้อนมรกต แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 31 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฮัวนิง

พายุไต้ฝุ่นเอตาว แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 2 – 9 สิงหาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
945 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.91 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กาบายัน

พายุไต้ฝุ่นกรอวาญ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 13 – 26 สิงหาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: นีนา

พายุโซนร้อนหว่ามก๋อ แก้

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: มานัง

พายุไต้ฝุ่นตู้เจวียน แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โอนโยก

พายุไต้ฝุ่นแมมี แก้

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 – 13 กันยายน
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โปกี

พายุไต้ฝุ่นฉอยหวั่น แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 23 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โรสกัส

พายุไต้ฝุ่นคปปุ แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 24 – 30 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ซีกัต

พายุไต้ฝุ่นเกดสะหนา แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 27 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ตีโซย

พายุไต้ฝุ่นป้าหม่า แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 19 – 31 ตุลาคม
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเมอโลร์ แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 ตุลาคม – 5 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: บีริง

พายุไต้ฝุ่นเนพาร์ตัก แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (TMD)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 11 – 19 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
970 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.64 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เวง

พายุไต้ฝุ่นลูปิต แก้

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่น (TMD)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โยโยย

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 22 พฤษภาคม
ความรุนแรง >55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: บาตีโบต

บริเวณการพาความร้อนก่อตัวขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะปาเลา ภายในบริเวณที่มีลมเฉือนกำลังอ่อน ในวันที่ 16 พฤษภาคม วันถัดมาทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นและศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมต่างปรับให้ระบบเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ศูนย์กลางของการพาความร้อนนั้นไม่เป็นระเบียบ ร่วมกับศูนย์กลางการไหลเวียนอีกหลายศูนย์ฯ ต่อมาระบบเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกในขั้นแรก แต่ต่อมาได้เคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้น และเข้าสู่พื้นที่ที่มีลมเฉือนมากเพิ่มขึ้น ในวันที่ 19 พฤษภาคม ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมได้ปรับให้ระบบเป็นพายุโซนร้อน 03W[1] ต่อมาในวันเดียวกัน PAGASA ก็ได้จัดให้ระบบดังกล่าวเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนบาตีโบต[2] ไม่นานหลังจากนั้น การพาความร้อนที่ศูนย์กลางของระบบก็ลดลง จนในวันที่ 20 พฤษภาคม ศูนย์เตือนภัยทั้งสองจึงได้ยุติการให้คำแนะนำกับพายุลูกนี้ลง[1]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
   
ระยะเวลา 9 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฟัลโกน

วันที่ 9 กรกฎาคม PAGASA ได้จัดให้หย่อมความกดอากาศต่ำทางฝั่งตะวันตกของประเทศฟิลิปปินส์เป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนฟัลโกน ขณะที่ JMA ก็ออกคำแนะนำกับระบบเช่นกัน แต่เป็นเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น ก่อนจะเลิกไปในช่วงเย็นของวันดังกล่าว

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอีเนง แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
   
ระยะเวลา 30 – 31 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

วันที่ 30 กรกฎาคม PAGASA ได้ออกคำแนะนำกับพายุดีเปรสชันเขตร้อนอีเนง ที่ปกคลุมอยู่ทางชายฝั่งด้านตะวันออกของเกาะมินดาเนา[3] วันต่อมาพายุดีเปรสชันเขตร้อนอีเนงสลายตัวลง โดยพายุอีเนงได้สร้างความเสียหายกับประเทศฟิลิปปินส์ 8 ล้านเปโซฟิลิปปินส์ (1.45 แสนดอลลาร์สหรัฐ)[4]

พายุโซนร้อนลาไก แก้

พายุโซนร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
   
ระยะเวลา 18 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

วันที่ 18 สิงหาคม ร่องมรสุมได้เอื้อให้พายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นทางตอนเหนือของเกาะลูซอน โดย PAGASA ให้ชื่อว่า ลาไก ซึ่งในบริเวณนี้มีการหมุนเวียนอีกระบบหนึ่ง นั่นคือพายุโซนร้อนหว่ามก๋อที่ปกคลุมอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ใกล้กับประเทศไต้หวัน โดยรวมพายุทั้งสองมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก ต่อมา PAGASA ได้ปรับให้ลาไกเป็นพายุโซนร้อนในวันที่ 19 สิงหาคม ก่อนจะยุติการให้คำแนะนำกับระบบในวันรุ่งขึ้น ระบบได้พัดพาฝนไปตกในประเทศจีน โดยที่เมืองเซียเหมิน มณฑลฝูเจี้ยนวัดปริมาณน้ำฝนได้ 82.4 มิลลิเมตร (3.24 นิ้ว)[5]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 (ออกนอกแอ่ง) – 6 กันยายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1009 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.8 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ฆิเมนา

วันที่ 5 กันยายน อดีตพายุเฮอร์ริเคนฆิเมนาได้เคลื่อนตัวข้ามเส้นแบ่งเขตวันสากลเข้ามาในแอ่ง ในเวลานั้น การไหลเวียนส่วนใหญ่ของระบบได้เปิดออกแล้ว และศูนย์กลางของพายุก็สลายตัวลงอย่างรวดเร็ว[5]

พายุดีเปรสชันเขตร้อนกีเยล แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
   
ระยะเวลา 15 – 19 กันยายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

ร่องมรสุมได้เอื้อให้เกิดการแปรปรวนขึ้นทางตะวันออกของประเทศฟิลิปปินส์ โดย PAGASA ได้จัดให้ระบบดังกล่าวเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนกีเยลในวันที่ 15 กันยายน ระบบเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก แต่ไม่มีการทวีกำลังแรงขึ้น[6] และสลายตัวไปทางตะวันตกของเกาะลูซอนในวันที่ 19 กันยายน[7] โดยระบบร่องมรสุมยังให้กำเนิดพายุอีกลูกนั่นคือ พายุไต้ฝุ่นฉอยหวั่น[6]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 18W แก้

พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 – 11 ตุลาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 19W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 13 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 22W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 24 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อูร์ซูลา

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 23W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 23 ตุลาคม (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 27W แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชัน (TMD)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 – 27 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ซิกซัก

รายชื่อพายุ แก้

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[8] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[9] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[8] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[9] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล แก้

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (40 ไมล์ต่อชั่วโมง)[10] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[11] โดยรายชื่อด้านล่างจะเป็นรายชื่อ พร้อมเลขรหัสพายุ ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2546 คือ ยันยัน จากชุดที่ 3 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้ายคือ ลูปิต จากชุดที่ 4 รวมมีชื่อจากชุดรายชื่อถูกใช้ 21 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2546
ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ
ชุดที่ 3 0301 ยันยัน
(Yanyan)
ชุดที่ 3 0307 อิมบูโด
(Imbudo)
ชุดที่ 4 0313 ตู้เจวียน
(Dujuan)
ชุดที่ 4 0319 เมอโลร์
(Melor)
0302 คูจิระ
(Kujira)
0308 โคนี
(Koni)
0314 แมมี
(Maemi)
0320 เนพาร์ตัก
(Nepartak)
0303 จันหอม
(Chan-hom)
0309 มรกต
(Morakot)
0315 ฉอยหวั่น
(Choi-wan)
0321 ลูปิต
(Lupit)
0304 หลิ่นฟา
(Linfa)
0310 เอตาว
(Etau)
0316 คปปุ
(Koppu)
0305 นังกา
(Nangka)
0311 หว่ามก๋อ
(Vamco)
0317 เกดสะหนา
(Ketsana)
0306 เซาเดโลร์
(Soudelor)
ชุดที่ 4 0312 กรอวาญ
(Krovanh)
0318 ป้าหม่า
(Parma)

ฟิลิปปินส์ แก้

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[12] ชุดรายชื่อนี้มีกำหนดจะถูกนำมาใช้อีกครั้งในฤดูกาล ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550)[12] เนื่องจากเป็นชุดรายชื่อที่เริ่มใหม่ จึงไม่มีชื่อใดในรายการนี้ที่ถูกถอนเลย ส่วนชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2546
อามัง (Amang) (0302) ฟัลโกน (Falcon) (0205) กาบายัน (Kabayan) (0310) โปกี (Pogi) (0314) อูร์ซูลา (Ursula)
บาตีโบต (Batibot) Goring (โกริง) ลาไก (Lakay) กีเยล (Quiel) บีริง (Viring) (0319)
เชเดง (Chedeng) (0304) ฮารูโรต (Harurot) (0307) มานัง (Manang) (0311) โรสกัส (Roskas) (0315) เวง (Weng) (0320)
โดโดง (Dodong) (0305) อีเนง (Ineng) นีนา (Niña) (0312) ซีกัต (Sikat) (0316) โยโยย (Yoyoy) (0321)
เอไก (Egay) (0306) ฮัวนิง (Juaning) (0309) โอนโยก (Onyok) (0313) ตีโซย (Tisoy) (0317) ซิกซัก (Zigzag)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาเบ (Abe) (ไม่ถูกใช้) ชาริง (Charing) (ไม่ถูกใช้) เอสโตย (Estoy) (ไม่ถูกใช้) เฮนิง (Gening) (ไม่ถูกใช้) อีโรก (Irog) (ไม่ถูกใช้)
เบร์โต (Berto) (ไม่ถูกใช้) ดังกิต (Danggit) (ไม่ถูกใช้) ฟัวโก (Fuago) (ไม่ถูกใช้) ฮันติก (Hantik) (ไม่ถูกใช้) ไฮเม (Jaime) (ไม่ถูกใช้)

การถอนชื่อ แก้

ชื่อ อิมบูโด และ แมมี ถูกถอนโดยคณะกรรมการไต้ฝุ่น โดยคณะกรรมการได้เลือกชื่อ โมลาเบ และ มูจีแก ขึ้นมาแทนตามลำดับ ขณะที่ชื่อ ยันยัน นั้นทางการฮ่องกงได้ร้องขอให้ถอนชื่อดังกล่าวออก และใช้ชื่อ ดอลฟิน แทน นอกจากนี้ชื่อ โคนี ในอักษรละตินยังถูกเปลี่ยนจาก Koni เป็น Goni ด้วย เนื่องจากพบว่าการใช้ตัว K นั้นเป็นการสะกดผิด

ส่วน PAGASA ได้ประกาศถอนชื่อ ฮารูโรต (Harurot) ออกเนื่องจากสร้างความเสียหายอย่างมาก และเลือกชื่อ ฮันนา (Hanna) ขึ้นมาแทนที่

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2546 ประกอบด้วยชื่อพายุ ความรุนแรง บริเวณที่มีผลกระทบ จำนวนผู้เสียชีวิต และความเสียหาย ความเสียหายทั้งหมดเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) ความเสียหายและผู้เสียชีวิตจากพายุนั้นรวมไปถึงตั้งแต่ครั้งเมื่อพายุยังเป็นเพียงหย่อมความกดอากาศต่ำ หรือเปลี่ยนผ่านไปเป็นความกดอากาศต่ำนอกเขตร้อนแล้ว

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
ยันยัน 15 – 20 มกราคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [13][14]
คูจิระ
(Amang)
10 – 25 เมษายน พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 930 hPa (27.47 นิ้วปรอท) ไมโครนีเชีย, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &0000000000230000000000230 พันดอลลาร์สหรัฐ 3 [13][15][16][17][18]
TD 17 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
03W
(บาตีโบต)
18 – 21 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [1]
TD 19 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
จันหอม 19 – 27 พฤษภาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ชุก, กวม &000000001600000000000016 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [1][13]
หลิ่นฟา
(เชเดง)
25 – 30 พฤษภาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ญี่ปุ่น &000000002820000000000028.2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 41 [1][13]
นังกา
(โดโดง)
30 พฤษภาคม – 3 มิถุนายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [13][19]
เซาเดโลร์
(เอไก)
12 – 19 มิถุนายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้ &000000001530000000000015.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 15 [13][20][21]
ฟัลโกน 9 – 10 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [22]
โคนี
(กีลัส)
15 – 22 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม &000000001630000000000016.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5 [13][22][23]
อิมบูโด
(ฮารูโรต)
15 – 25 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 935 hPa (27.61 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน &0000000383000000000000383 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 85 [13][22][24]
อีเนง 30 – 31 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000145000000000145 พันดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [22][4]
มรกต
(ฮัวนิง)
31 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ไต้หวัน, จีน &000000003100000000000031 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 3 [13][5][25]
TD 2 – 6 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เอตาว
(กาบายัน)
2 – 9 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 945 hPa (27.91 นิ้วปรอท) ปาเลา, กวม, เกาะโอกินาวะ, ญี่ปุ่น &0000000294800000000000295 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 20 [13][26]
กรอวาญ
(นีนา)
16 – 26 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 970 hPa (28.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, จีน, เวียดนาม &0000000253000000000000253 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1 [13][5][25]
TD 17 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hpa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
หว่ามก๋อ
(มานัง)
18 – 20 สิงหาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &00000000047000000000004.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [13][5]
ลาไก 18 – 20 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [5]
TD 18 – 19 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 26 – 27 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ตู้เจวียน
(โอนโยก)
27 สิงหาคม – 3 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เกาะโอกินาวะ, ไต้หวัน, จีน &0000000392000000000000392 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 44 [13][25]
TD 31 สิงหาคม – 3 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
แมมี
(โปกี)
4 – 13 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 195 กม./ชม. 910 hPa (26.87 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, เกาหลีเหนือ &00000041000000000000004.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 120 [13][27][28]
TD 7 – 8 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hpa (29.59 นิ้วปรอท) เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 11 – 13 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hpa (29.83 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 14 – 15 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hpa (29.59 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
กีเยล 15 – 19 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ ไม่ได้ระบุ ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [6][7]
ฉอยหวั่น
(โรสกัส)
16 – 24 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &00000000025000000000002.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [13][29]
คปปุ
(ซีกัต)
23 – 30 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [13]
TD 5 – 6 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hpa (29.77 นิ้วปรอท) ไต้หวัน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
18W 6 – 10 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hpa (29.65 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
19W 12 – 13 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ ไม่ได้ระบุ ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี 2
TD 16 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hpa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เกดสะหนา
(ตีโซย)
17 – 26 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [13]
ป้าหม่า 19 – 31 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 930 hPa (27.47 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [13]
23W 21 – 23 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไทย เล็กน้อย 1 [30][31]
22W
(อูร์ซูลา)
21 – 23 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ เล็กน้อย 1 [30][31]
เมอโลร์
(บีริง)
29 ตุลาคม – 5 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี 4 [13]
เนพาร์ตัก
(เวง)
11 – 19 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 970 hPa (28.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม, จีน &0000000197000000000000197 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 13 [13][32][33]
TD 14 – 15 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 jPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 15 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 jPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ลูปิต
(โยโยย)
18 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. 915 hPa (27.02 นิ้วปรอท) ไมโครนีเชีย, ญี่ปุ่น &00000000017000000000001.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ &0000000000000000000000 ไม่มี [13][34]
TD 16 – 17 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 jPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
27W
(ซิกซัก)
23 – 27 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี [35][36]
สรุปฤดูกาล
45 ลูก 15 มกราคม – 27 ธันวาคม   195 กม./ชม. 910 hPa (26.87 นิ้วปรอท)   &00000057300000000000005.73 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 360


ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (May 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary May 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ 2013-10-06.
  2. Tropical Depression "Batibot" (19 to 20 May 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-09. สืบค้นเมื่อ 2013-10-05.
  3. Kevin Boyle. "Monthly Global Tropical Cyclone Summary July 2003". Gary Padgett. สืบค้นเมื่อ 2013-10-05.
  4. 4.0 4.1 Tropical Depression "Ineng" (30 to 31 July 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. สืบค้นเมื่อ 2013-11-08.[ลิงก์เสีย]
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (August 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary August 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  6. 6.0 6.1 6.2 Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (September 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary September 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  7. 7.0 7.1 Tropical Depression "Quiel" (15 to 19 September 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 8, 2013. สืบค้นเมื่อ November 8, 2013.
  8. 8.0 8.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone summary December 1999". Australian Severe Weather. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 11, 2012. สืบค้นเมื่อ August 28, 2012.
  9. 9.0 9.1 the Typhoon Committee (November 21, 2012). "Typhoon Committee Operational Manual 2012" (PDF). World Meteorological Organization. pp. 37–38. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ August 1, 2013.
  10. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  11. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-12. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2014.
  12. 12.0 12.1 "Philippine Tropical Cyclone Names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2015.
  13. 13.00 13.01 13.02 13.03 13.04 13.05 13.06 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 13.12 13.13 13.14 13.15 13.16 13.17 13.18 13.19 13.20 Annual Report on Activities of the RSMC Tokyo – Typhoon Center 2003 (PDF) (Report). Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ January 27, 2013.
  14. Boyle, Kevin (January 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary January 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 6, 2013.
  15. Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (April 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary April 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 6, 2013.
  16. "ROUNUP: Taiwan issues warnings for typhoon Kujira". Taipei, Taiwan. Deutsche Presse-Agentur. April 21, 2003. – โดยทาง Lexis Nexis (ต้องรับบริการ)
  17. Newman, Steve (April 26, 2003). "Earthweek: A diary of the planet". The Vancouver Sun. Vancouver, British Columbia. Tribune Media Services. p. G7. – โดยทาง Lexis Nexis (ต้องรับบริการ)
  18. KITAMOTO Asanobu. "Digital Typhoon: Weather Disaster Report (2003-918-15)". Digital Typhoon Weather Disaster Database (ภาษาญี่ปุ่น). National Institute of Informatics. สืบค้นเมื่อ October 6, 2013.
  19. KITAMOTO Asanobu. "Digital Typhoon: Typhoon 200305 (NANGKA) - Disaster Information". Digital Typhoon Weather Disaster Database (ภาษาญี่ปุ่น). National Institute of Informatics. สืบค้นเมื่อ October 26, 2013.
  20. Aftermath report for the Philippines (Report). National Disaster Coordinating Council. 2003. สืบค้นเมื่อ February 1, 2013.
  21. Water Resources of Korea (PDF) (Report). Ministry of Land, Transport and Maritime Affairs. September 27, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 13, 2012. สืบค้นเมื่อ February 2, 2013.
  22. 22.0 22.1 22.2 22.3 Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (July 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary July 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ November 5, 2013.
  23. Agence France-Pesse (July 23, 2003). "Typhoon Koni kills two, injures 18 in Vietnam". Hanoi, Vietnam: TerraDaily. สืบค้นเมื่อ November 6, 2013.
  24. Super Typhoon "Harurot" (19 to 23 July 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 14, 2013. สืบค้นเมื่อ October 5, 2013.
  25. 25.0 25.1 25.2 Tropical Cyclones in 2003 (PDF) (Report). Hong Kong, China: Hong Kong Observatory. April 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-09-30. สืบค้นเมื่อ November 3, 2013.
  26. Digital Typhoon. Typhoon 200310 (Etau) (Report). สืบค้นเมื่อ November 4, 2013.
  27. Guy Carpenter. Typhoon Maemi Loss Report 2003 (PDF) (Report). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ October 19, 2013. สืบค้นเมื่อ October 18, 2013.
  28. Digital Typhoon. Typhoon 200314 (Maemi) (Report). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 18, 2013. สืบค้นเมื่อ October 18, 2013.
  29. Digital Typhoon. Typhoon 200315 (Choi-wan) (Report). สืบค้นเมื่อ November 9, 2013.
  30. 30.0 30.1 Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (October 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary October 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  31. 31.0 31.1 Tropical Depression "Ursula" (23 to 24 October 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 20, 2013. สืบค้นเมื่อ November 8, 2013.
  32. Joint Typhoon Warning Center. 2003 Annual Tropical Cyclone Report (PDF) (Report). United States Navy. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 21, 2013. สืบค้นเมื่อ January 27, 2013.
  33. Padgett, Gary; Boyle, Kevin; Chunliang, Huang (November 2003). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary November 2003". Summaries and Track Data. Australiansevereweather.com. สืบค้นเมื่อ October 27, 2013.
  34. "Storm Data and Unusual Weather Phenomena with Late Reports and Corrections" (PDF). 24 (4). National Oceanic and Atmospheric Administration. April 2004: 242–243. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ January 29, 2013. สืบค้นเมื่อ January 27, 2013. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  35. Kevin Boyle. "Monthly Global Tropical Cyclone Summary December 2003". Gary Padgett. สืบค้นเมื่อ July 6, 2014.
  36. Tropical Depression "Zigzag" (25 to 28 December 2003) (Report). Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services Administration. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 20, 2013. สืบค้นเมื่อ November 8, 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้