ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565 เป็นฤดูกาลในอดีตของวัฏจักรรายปีของการก่อตัวพายุหมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อน โดยฤดูกาลเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2564 และไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน 2565 โดยมีข้อยกเว้นสำหรับมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะสิ้นสุดลงในวันที่ 15 พฤษภาคม 2565 วันที่เหล่านี้เป็นช่วงเวลาตามธรรมเนียมนิยมซึ่งเป็นช่วงจำกัดของแต่ละปี ซึ่งมีพายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนก่อตัวภายในแอ่ง ภายในทางตะวันตกของเส้น 90 °ตะวันออก และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร พายุหมุนเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในแอ่งนี้จะได้รับการเฝ้าระวังโดยศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเรอูนียง

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว20 มกราคม พ.ศ. 2565
(สถิติช้าที่สุด)
ระบบสุดท้ายสลายตัว7 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อบัตซีราย
 • ลมแรงสูงสุด195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด934 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด13 ระบบ
พายุดีเปรสชันทั้งหมด13 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด12 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน5 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง5 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 376 คน
ความเสียหายทั้งหมด312 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2022)
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2562–63, 2563–64, 2564–65, 2565–66, 2566–67

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้
  หย่อมความกดอากาศต่ำ/การแปรปรวนของลมในเขตร้อน (≤50 กม./ชม.)   พายุไซโคลน (118–165 กม./ชม.)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน/พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (51–62 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรง (166–212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (63–88 กม./ชม.)   พายุไซโคลนรุนแรงมาก (≥212 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)

 
พายุไซโคลนเวอร์นันกับพายุดีเปรสชัน 08 เกิดปรากฎการณ์ฟูจิวารา

พายุ แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอานา แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 20 – 25 มกราคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงบัตซีราย แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 24 มกราคม – 8 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
934 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.58 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางกลิฟ แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 3 – 5 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางดามาโก แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 18 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
993 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.32 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเอ็มนาตี แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 กุมภาพันธ์ – 24 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางเฟซีเล แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 (เข้ามาในแอ่ง) – 18 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงเวอร์นัน แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 กุมภาพันธ์ (เข้ามาในแอ่ง) – 3 มีนาคม
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08 แก้

ดีเปรสชันเขตร้อน (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 กุมภาพันธ์ – 27 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงกอมเบ แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 มีนาคม – 17 มีนาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนรุนแรงฮาลิมา แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 20 มีนาคม – 1 เมษายน
ความรุนแรง 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
939 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.73 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนอิซซา แก้

พายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อน (MFR)
พายุกึ่งโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 เมษายน – 13 เมษายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงจัสมิน แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 เมษายน – 27 เมษายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางคาริม แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 พฤษภาคม – 7 พฤษภาคม (ออกจากแอ่ง)
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนและพายุดีเปรสชันกึ่งเขตร้อนใดที่ถูกประมาณว่ามีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีที่ 65 กม./ชม. โดยการวัดของศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาคในเกาะลาเรอูนียง ประเทศฝรั่งเศส (RSMC ลาเรอูนียง) พายุลูกดังกล่าวจะได้รับชื่อ อย่างไรก็ตาม ศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสและประเทศมาร์ดากัสการ์จะเป็นผู้กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนแทน โดยศูนย์เฝ้าระวังพายุหมุนเขตร้อนภูมิภาคย่อยในประเทศมอริเชียสจะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนทวีกำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลาง ในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 55 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 90 องศาตะวันออก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่กำลังแรงเป็นพายุโซนร้อนกำลังปานกลางในขอบเขตระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 30 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกถึง 55 องศาตะวันออก พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากศูนย์ย่อยในประเทศมาร์ดากัสการ์ ตั้งแต่ฤดูกาล 2559–2560 เป็นต้นมา ชุดรายชื่อที่ใช้ภายในมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้จะถูกนำมาวนใช้ในทุก ๆ สามปี โดยชื่อพายุจะถูกใช้เพียงครั้งเดียว ดังนั้นชื่อพายุใดที่ถูกนำมาใช้แล้วในฤดูกาลนี้จะถูกถอนออกจากการวนใช้ซ้ำ และจะมีการตั้งชื่อขึ้นมาทดแทนในฤดูกาล 2566–2567 ส่วนชื่อพายุใดที่ยังไม่ถูกใช้จะถูกนำไปใช้อีกครั้งในฤดูกาล 2566–2567[1]

  • อานา
  • บัตซีราย
  • กลิฟ
  • ดามาโก
  • เอ็มนาตี
  • เฟซีเล
  • กอมเบ
  • ฮาลิมา
  • อิซซา
  • จัสมิน
  • คาริม
  • เลตลามา (ไม่ถูกใช้)
  • มาอีเปโล (ไม่ถูกใช้)
  • นจาซี (ไม่ถูกใช้)
  • โอสการ์ (ไม่ถูกใช้)
  • ปาเมลา (ไม่ถูกใช้)
  • คูเอนติน (ไม่ถูกใช้)
  • ราจาบ (ไม่ถูกใช้)
  • ซาวานา (ไม่ถูกใช้)
  • เตมบา (ไม่ถูกใช้)
  • อูยาโป (ไม่ถูกใช้)
  • วิเวียน (ไม่ถูกใช้)
  • วอลเตอร์ (ไม่ถูกใช้)
  • แซงกี (ไม่ถูกใช้)
  • เยมูราอี (ไม่ถูกใช้)
  • ซาเนเล (ไม่ถูกใช้)

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2016). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2016-10-05.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้