ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555–2556

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555-2556 เป็นฤดูกาลในอีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2556 โดยเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 จนไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556 โดยมีข้อยกเว้นในแถบมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะส้นสุดในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พายุในเขตนี้จะมีขอบเขตอยู่ทางตะวันตกของเส้น 90°E และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร โดยการติดตามของศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาค (Regional Specialized Meteorological Center) ในเรอูว์นียง พายุลูกแรกที่ก่อตัวในแอ่งนี้คือ เอเนส ที่ก่อตัวเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ก่อนที่จะเริ่มฤดูกาลอย่างเป็นทางการกว่าสองสัปดาห์ ซึ่ง เอเนส ทวีความรุนแรงเป็นถึง ระดับ 3 ตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน นับเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดที่เคยก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555–2556
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
ระบบสุดท้ายสลายตัว11 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเอเนส (Anais)
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด949 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด11 ลูก
พายุดีเปรสชันทั้งหมด10 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด10 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน7 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง3 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด35 คน (สูญหาย 16 คน)
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
Related articles
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2553–54, 2554–55, 2555–56 2556–57

เส้นเวลา แก้

Tropical cyclone scales#Comparisons across basins


หย่อมความกดอากาศต่ำแรกของฤดูกาลก่อตัวเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม และค่อย ๆ ทวีกำลังแรงขึ้นจนกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยบันทึกได้ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม[1]

พายุ แก้

ไซโคลนเขตร้อนรุนแรงเอเนส แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 ตุลาคม – 19 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
949 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.02 นิ้วปรอท)

หย่อมความกดอากาศ 02 แก้

หย่อมความกดอากาศต่ำ (MFR)
   
ระยะเวลา 15 พฤศจิกายน – 16 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโบล์ดวิน แก้

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 23 พฤศจิกายน – 26 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
987 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.15 นิ้วปรอท)

ไซโคลนเขตร้อนรุนแรงคลัวเดีย แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 ธันวาคม – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

ไซโคลนเขตร้อนดูไมล์ แก้

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 ธันวาคม – 5 มกราคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
968 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอีแมง แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 17 มกราคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรงเฟลเลียง แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนจีโน แก้

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 11 – 15 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนฮารูนา แก้

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 18 – 25 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนไอเมลดา แก้

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 5 – 16 เมษายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
966 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.53 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนกำลังปานกลางจามาลา แก้

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 9 – 11 พฤษภาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุที่เกิดขึ้น แก้

ภายในทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ดีเปรสชันเขตร้อนและกึ่งดีเปรสชันเขตร้อน ที่มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางเฉลี่ย 10 นาที 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาคในเกาะเรอูว์นียง, ประเทศฝรั่งเศส (RSMC เรอูว์นียง) จะเป็นผู้กำหนดชื่อพายุ อย่างไรก็ตาม ศูนย์ย่อยภูมิภาคพายุหมุนเขตร้อนในมอริเชียสและมาดากัสการ์จะกำหนดชื่อ เมื่อระบบเป็นพายุโซนร้อนระหว่าง 55°ตะวันออก และ 90°ตะวันออก ถ้าพายุโซนร้อนระหว่าง 30°ตะวันออก และ 55°ตะวันออกแล้ว ศูนย์ย่อยจะกำหนดชื่อที่เหมาะสมของพายุ โดยรายชื่อใหม่จะใช้เป็นประจำทุกปีในขณะที่ชื่อปกติจะใช้เพียงครั้งเดียวจึงไม่มีการปลดชื่อออก[3] และเป็นครั้งแรกที่พายุไซโคลนเขตร้อนเคลื่อนตัวเข้ามาในภูมิภาคออสเตรเลีย จะไม่เปลี่ยนชื่อที่ตั้งโดยศูนย์ย่อยภูมิภาคพายุหมุนเขตร้อนในมอริเชียสและมาดากัสการ์[3]

  • เอเนส
  • โบล์ดวิน
  • คลัวเดีย
  • ดูไมล์
  • อีแมง
  • เฟลเลียง
  • จีโน
  • ฮารูนา
  • อีเมลดา
  • จามาลา
  • คาเชย์ (ยังไม่ใช้)
  • ลูเซียโน (ยังไม่ใช้)
  • มาเรียม (ยังไม่ใช้)
  • ฮาซี (ยังไม่ใช้)
  • โอเนียส (ยังไม่ใช้)
  • เปลากี (ยังไม่ใช้)
  • คูยลิโร (ยังไม่ใช้)
  • ริชาร์ด (ยังไม่ใช้)
  • โซลานี (ยังไม่ใช้)
  • ทามิม (ยังไม่ใช้)
  • ยูริเลีย (ยังไม่ใช้)
  • วูยาเน (ยังไม่ใช้)
  • วักเนอร์ (ยังไม่ใช้)
  • ซูซา (ยังไม่ใช้)
  • ยาโรนา (ยังไม่ใช้)
  • ซาคาเรียส (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้แสดงรายการพายุทั้งหมดที่เกิดขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ในช่วงปี พ.ศ. 2555-2556 ซึ่งจะระบุชื่อของพายุ, วันที่พายุเริ่มก่อตัว, ความรุนแรง, ข้อมูลพื้นฐานของพายุ, พื้นที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายที่เกิดจากพายุ โดยตัวเลขที่แสดงความเสียหายจะถูกระบุเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ปี ค.ศ. 2012 และความเสียหาย การสูญเสียจากพายุ จะนับตั้งแต่พายุเริ่มรวมตัวจนถึงพายุถึงความรุนแรงสูงสุด

ชื่อพายุ วันที่เกิด ระดับของพายุ ลมเฉลี่ย
สูงสุด 10 นาที
ความกดอากาศ
เฮกโตปาสกาล (hPa)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย เสียชีวิต อ้างอิง
เอเนส 12 – 19 ตุลาคม ไซโคลนเขตร้อนรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) 949 hPa (28.03 นิ้วปรอท) ดีเอโก การ์เซีย, มาดากัสการ์ ไม่มี ไม่มี
02 15 – 16 พฤศจิกายน หย่อมความกดอากาศต่ำ 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
โบล์ดวิน 23 – 26 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) 988 hPa (29.18 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คลัวเดีย 6 – 13 ธันวาคม ไซโคลนเขตร้อนรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ดูไมล์ 29 ธันวาคม – ปัจจุบัน ไซโคลนเขตร้อน 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) 968 hPa (28.59 นิ้วปรอท) เรอูว์นียง ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
ดีเปรสชันทั้งหมด: 5 ลูก 12 ตุลาคม – 11 พฤษภาคม 185 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) 949 hPa (28.02 นิ้วปรอท) 0.00ดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี

อ้างอิง แก้

  1. RSMC La Réunion (October 14, 2012). "RSMC La Réunion Technical Bulletin October 14, 2012 1200 UTC". Météo France. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-23. สืบค้นเมื่อ October 14, 2012.
  2. "JTWC Tropical Cyclone Formation Alert on October 12, 2012". Joint Typhoon Warning Center. 12 October 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-20. สืบค้นเมื่อ 13 October 2012.
  3. 3.0 3.1 Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2010). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.