ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558–2559

ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558-2559 เป็นฤดูกาลในอดีตซึ่งเคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ภายในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 160°ตะวันออก โดยฤดูกาลนี้จะเริ่มนับอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2559 อย่างไรก็ตาม พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 และจะถูกนับรวมในฤดูกาลนี้ด้วย ในระหว่างฤดูกาล พายุหมุนเขตร้อนจะถูกตรวจสอบโดยหนึ่งจากห้าศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อน (TCWC) ที่ทำงานอยู่ภายในภูมิภาคนี้ ซึ่งสามจากห้าศูนย์ซึ่งกำกับการทำงานโดยสำนักงานอุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลีย ในเพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน ในขณะที่อีกสองหน่วยงานจะถูกกำกับการทำงานโดยศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติปาปัวนิวกินี ใน พอร์ตมอร์สบี และสำนักอุตุนิยมวิทยา สภาพภูมิอากาศ และธรณีฟิสิกส์แห่งอินโดนีเซีย ใน จาการ์ตา ส่วนศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นของสหรัฐอเมริกา และหน่วยงานบริการทางอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติรวมถึงเมเทโอฟรานส์ จะตรวจสอบพายุในระหว่างฤดูกาล ฤดูกาลนี้เริ่มต้นเมื่อมีพายุดีเปรสชันเขตร้อนเคลื่อนเข้ามาในแอ่งภูมิภาคออสเตรเลีย จากแอ่งแปซิฟิกใต้ และทวีกำลังเป็นพายุไซโคลนราเควล์ในวันที่ 30 มิถุนายน ทำให้มันกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ลูกแรกที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือนกรกฎาคม ตั้งแต่มีการบันทึกมา

ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2558–2559
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว17 ธันวาคม พ.ศ. 2558
ระบบสุดท้ายสลายตัว16 มีนาคม พ.ศ. 2559
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อสแตน
 • ลมแรงสูงสุด110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด975 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน11
พายุไซโคลนเขตร้อน3
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด0 คน
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย
2556–57, 2557–58, 2558–59, 2559–60, 2560–61

ภาพรวมฤดูกาล แก้

2014–15 Australian region cyclone season#Tropical Cyclone Raquelสเกลพายุหมุนเขตร้อน#ตารางเปรียบเทียบ
ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อนภายในแอ่งนี้
  • ██ บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน
  • ██ พายุไซโคลนระดับ 1
  • ██ พายุไซโคลนระดับ 2
  • ██ พายุไซโคลนระดับ 3
  • ██ พายุไซโคลนระดับ 4
  • ██ พายุไซโคลนระดับ 5

พายุ แก้

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 04U แก้

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
   
ระยะเวลา 19 – 24 ธันวาคม
ความรุนแรง ไม่ทราบความเร็วลม
1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท)

ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 05U แก้

ความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
   
ระยะเวลา 23 ธันวาคม – 1 มกราคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 06U แก้

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
   
ระยะเวลา 25 – 29 ธันวาคม
ความรุนแรง ไม่ทราบความเร็วลม
ไม่ทราบความกดอากาศ

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 07U แก้

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
   
ระยะเวลา 19 – 25 มกราคม
ความรุนแรง ไม่ทราบความเร็วลม
ไม่ทราบความกดอากาศ
  • วันที่ 19 มกราคม ศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนเพิร์ท (TCWC เพิร์ท) รายงานว่าพบการก่อตัวของบริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อนภายในมหาสมุทรอินเดียกลาง

พายุไซโคลนสแตน แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 – 31 มกราคม
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
973 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.73 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนอูเรียห์ แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 8 – 14 กุมภาพันธ์ (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนทาเทียนา แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 10 – 12 กุมภาพันธ์ (ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
983 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.03 นิ้วปรอท)

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 12U แก้

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
   
ระยะเวลา 1 – 6 มีนาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน 14U แก้

ความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 14 – 16 มีนาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)

พายุอื่น ๆ แก้

พายุไซโคลนราเควล์ แก้

พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 มิถุนายน (เข้ามาในแอ่ง) – 5 กรกฎาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 30 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17F เคลื่อนตัวเข้าสู่ภูมิภาคออสเตรเลีย และมีความรุนแรงขึ้นเป็นพายุไซโคลนราเควล์
  • วันที่ 3 กรกฎาคม หลังจากที่พายุได้เคลื่อนที่หมุนย้อนกลับเป็นเวลา 2 วัน ระบบก็ได้เคลื่อนออกจากภูมิภาคออสเตรเลียกลับเข้าสู่แปซิฟิกใต้อีกครั้ง
  • วันที่ 4 กรกฎาคม อย่างไรก็ตาม ราเควล์ ได้กลับเข้ามาในแอ่งอีกครั้ง ในช่วงต้นของวัน
  • วันที่ 5 กรกฎาคม ราเควล์ อ่อนกำลังลงเป็นความกดอากาศต่ำ

ทั้งนี้เป็นไปตามที่สำนักอุตุนิยมวิทยา ระบุว่ามันเป็นกรณีของพายุหมุนเขตร้อนแรกของเดือนกรกฎาคม นับตั้งแต่ยุคเริ่มแรกของดาวเทียม และในฐานะที่เป็นผลพลอยได้จากการกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนในวันแรกของการเริ่มต้นฤดูกาล มันจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของการเริ่มต้นฤดูกาลที่เก่าแก่ที่สุดในบันทึกของแอ่งนี้[1]

รายชื่อพายุที่เกิดขึ้น แก้

TCWC จาการ์ตา แก้

TCWC จาการ์ตา จะกำหนดชื่อของพายุไซโคลนเขตร้อนจากเส้นศูนย์สูตรที่ระยะ 11°ใต้ และระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 145°ตะวันออก เมื่อดีเปรสชันทวีความรุนแรงเป็นไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตา ศูนย์ก็จะเป็นผู้กำหนดชื่อของพายุจากรายการ[2]

เซ็มปากา (ยังไม่ใช้) ดาห์เลีย (ยังไม่ใช้) ฟลัมโบยัน (ยังไม่ใช้) เคนันงา (ยังไม่ใช้) ลีลี (ยังไม่ใช้)
มาวาร์ (ยังไม่ใช้) เซโรจา (ยังไม่ใช้) เทราไท (ยังไม่ใช้) อังกูร์ (ยังไม่ใช้) บากุง (ยังไม่ใช้)

TCWC พอร์ตมอร์สบี แก้

ถ้าพายุไซโคลนเขตร้อนพัฒนาขึ้นในตอนเหนือของ 11°ใต้ ระหว่าง 151°ตะวันออกถึง 160°ตะวันออก TCWC พอร์ตมอร์สบี จะเป็นผู้ประกาศใช้ชื่อพายุ โดยพายุบริเวณนี้จะก่อตัวได้ยากมากโดยครั้งล่าสุดที่มีการก่อตัวและพัฒนาของพายุคือเมื่อปี พ.ศ. 2550[3]

อาลู (ยังไม่ใช้) บูรี (ยังไม่ใช้) โดโด (ยังไม่ใช้) อีมัว (ยังไม่ใช้) เฟเร (ยังไม่ใช้) ฮีบู (ยังไม่ใช้) อีลา (ยังไม่ใช้) กามา (ยังไม่ใช้) โลบู (ยังไม่ใช้) ไมลา (ยังไม่ใช้)

สำนักงานอุตุนิยมวิทยา แก้

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-52 มีเพียงหนึ่งรายชื่อที่ศูนย์อุตุนิยมวิทยาเป็นผู้ประกาศใช้[2] อย่างไรก็ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียยังคงทำงานอยู่ในเมืองต่างๆ คือ เพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน โดยมีหน้าที่ตรวจสอบพายุไซโคลนเขตร้อนที่ก่อตัวทั้งหมดในภูมิภาคออสเตรเลีย และออกคำแนะนำพิเศษให้ทั้งพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตาหรือ TCWC พอร์ตมอร์สบี

สแตน ทาเทียนา อูเรียห์ เวตเต (ยังไม่ใช้) อัลเฟรด (ยังไม่ใช้) บลันเช (ยังไม่ใช้) เซเลบ (ยังไม่ใช้)
เดบบี (ยังไม่ใช้) เอร์นี (ยังไม่ใช้) ฟรันเซส (ยังไม่ใช้) เกรก (ยังไม่ใช้) ฮิลดา (ยังไม่ใช้) ไอโซเบล (ยังไม่ใช้) จอยซ์ (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ แก้

ชื่อ ระหว่างวันที่ ความรุนแรงสูงสุด ความเร็วลม
เฉลี่ย
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(AUD)
ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
04U 17 – 23 ธันวาคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
05U 21 ธันวาคม – 1 มกราคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) 994 hPa (29.35 นิ้วปรอท)   นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
06U 27 – 29 ธันวาคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน ไม่ได้ระบุ ไม่ได้ระบุ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
07U 19 – 25 มกราคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน ไม่ได้ระบุ ไม่ได้ระบุ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สแตน 27 – 31 มกราคม พายุไซโคลนระดับ 2 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) 973 hPa (28.73 นิ้วปรอท)   รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย รัฐเซาท์ออสเตรเลีย และรัฐวิกตอเลีย ไม่มี ไม่มี ไม่มี
09U 5 กุมภาพันธ์ – ปัจจุบัน บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) 997 hPa (29.44 นิ้วปรอท)   หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ทาเทียนา 10 – 12 กุมภาพันธ์ พายุไซโคลนระดับ 2 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) 983 hPa (29.03 นิ้วปรอท)   รัฐควีนส์แลนด์ ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ต่ำ 14 – 16 กุมภาพันธ์ บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน ไม่ได้ระบุ ไม่ได้ระบุ ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
12U 1 – 6 มีนาคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
วินสตัน 3 มีนาคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1010 hPa (29.82 นิ้วปรอท)   รัฐควีนส์แลนด์ ไม่มี ไม่มี ไม่มี
14U 14 – 16 มีนาคม บริเวณความกดอากาสต่ำเขตร้อน 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท)   นอร์ทเทิร์นเทริทอรี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
7 ลูก 17 ธันวาคม – 16 มีนาคม 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) 975 hPa (28.79 นิ้วปรอท) ไม่ทราบ ไม่ทราบ 0


ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Peter Hannam (1 กรกฎาคม 2015). "Cyclone Raquel forms as earliest big storm recorded off Australia's north-east". The Sydney Morning Herald. สืบค้นเมื่อ 2 กรกฎาคม 2015.
  2. 2.0 2.1 "Tropical Cyclone Operational plan for the South Pacific & Southeast indian Ocean, 2012 Edition" (PDF). WMO. สืบค้นเมื่อ 4 กรกฎาคม 2013.
  3. Gary Padgett; Simon Clarke (13 กรกฎาคม 2008). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary November 2007". Australian Severe Weather. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้