ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562 คือช่วงของฤดูกาลที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนภายในมหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันออก โดยฤดูกาลนี้จะเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 15 พฤษภาคม ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายน ในตอนกลางของมหาสมุทรแปซิฟิก และไปจบลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน[1] โดยขอบเขตดังกล่าวเป็นระยะเวลาที่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแปซิฟิก อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ที่พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวขึ้นได้ตลอดเวลา

ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว25 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ระบบสุดท้ายสลายตัว18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อบาร์บารา
 • ลมแรงสูงสุด155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด930 มิลลิบาร์ (hPa; 27.46 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด21 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด19 ลูก
พายุเฮอริเคน7 ลูก
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
4 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 11 คน
ความเสียหายทั้งหมด16.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2019)
ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก
2560, 2561, 2562, 2563, 2564

ฤดูกาลนี้เริ่มต้นขึ้นช้ากว่าวันเริ่มฤดูกาลอย่างเป็นทางการ ซึ่งไม่มีพายุหมุนเขตร้อนตัวขึ้นเลยในเดือนพฤษภาคมเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ พ.ศ. 2559 และเป็นครั้งแรกที่ไม่มีพายุก่อตัวขึ้นก่อนเดือนมิถุนายนนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (แม้ว่าพายุเฮอริเคนปาลีจะก่อตัวขึ้นในเดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ก็ตาม) ทำให้ฤดูนี้กลายเป็นฤดูที่มีพายุก่อตัวช้าที่สุดนับตั้งแต่ที่เริ่มมีการบันทึกฤดูพายุเฮอริเคนที่เชื่อถือได้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2514 โดยมีพายุดีเปรสชันเขตร้อนก่อตัวขึ้นลูกแรกในวันที่ 25 มิถุนายน

การพยากรณ์ฤดูกาล แก้

บันทึก พายุที่
ได้รับชื่อ
พายุเฮอริเคน พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่
อ้างอิง
ค่าเฉลี่ย (2524–2553): 15.4 7.6 3.2 [2]
สถิติกิจกรรมสูงสุด: 27 ลูก (2535) 16 ลูก (2558) 11 ลูก (2558) [3]
สถิติกิจกรรมต่ำสุด: 8 ลูก (2553) 3 ลูก (2553) 0 ลูก (2546) [3]
วันที่ ข้อมูล พายุที่
ได้รับชื่อ
พายุเฮอริเคน พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่
อ้างอิง
15 พฤษภาคม 2562 SMN 19 ลูก 11 ลูก 6 ลูก [4]
23 พฤษภาคม 2562 NOAA 15-22 ลูก 8-13 ลูก 4-8 ลูก [5]
พื้นที่ พายุที่
ได้รับชื่อ
พายุเฮอริเคน พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่
อ้างอิง
เกิดขึ้นจริง: EPAC 16 ลูก 7 ลูก 4 ลูก
เกิดขึ้นจริง: CPAC 2 ลูก 0 ลูก 0 ลูก
เกิดขึ้นจริง: 18 ลูก 7 ลูก 4 ลูก

วันที่ 15 พฤษภาคม บริการอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติเม็กซิโก (SMN) ได้ออกการพยากรณ์ฉบับแรกสำหรับฤดูกาล โดยคาดหมายว่าจะมีพายุที่ได้รับชื่อรวม 19 ลูก เป็นพายุเฮอริเคน 11 ลูก และเป็นพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ 6 ลูก[4] วันที่ 23 พฤษภาคม องค์การบริหารสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐ ได้ออกการพยากรณ์รายฤดูกาล โดยคาดว่ามีโอกาส 70% ที่ฤดูกาลจะอยู่ในช่วงใกล้เคียงถึงสูงกว่าค่าเฉลี่ยในแอ่งแปซิฟิกกลางและตะวันออก โดยจะมีพายุที่ได้รับชื่อรวม 15–22 ลูก เป็นพายุเฮอริเคน 8–13 ลูก และเป็นพายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ 4–8 ลูก[5] โดยมีเหตุผลของการคาดหมาย คือ การพยากรณ์ว่าจะเกิดเอลนีโญดำเนินต่อไปในฤดูกาล ซึ่งจะส่งผลให้ลมเฉือนแนวตั้งที่พัดข้ามแอ่งลดลง และอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลสูงขึ้น นอกจากนี้ แบบจำลองคอมพิวเตอร์ทั่วโลกหลายแบบจำลองยังคาดหมายว่าค่าความผิดปกติรอบสิบปีแปซิฟิก (PDO) เป็นบวก โดย PDO คือระยะเวลารอบวัฏจักรในหลายทศวรรษซึ่งอุณหภูมิพื้นผิวน้ำทะเลจะอุ่นกว่าปกติ โดยดำเนินต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2557 แล้ว ในทางกลับกัน ช่วงปี 2538–2556 จึงมีลักษณะเป็นช่วงที่มีกิจกรรมต่ำกว่าค่าปกติโดยทั่วไป[6]

ภาพรวมฤดูกาล แก้

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก (SSHWS)
  พายุดีเปรสชันเขตร้อน (≤62 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 3 (178–208 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (63–117 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 4 (209–251 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 1 (118–153 กม./ชม.)   พายุเฮอริเคนระดับ 5 (≥252 กม./ชม.)
  พายุเฮอริเคนระดับ 2 (154–177 กม./ชม.)

ฤดูอย่างเป็นทางการเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 15 พฤษภาคมในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และวันที่ 1 มิถุนายนในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง โดยทั้งสองแอ่งจะไปสิ้นสุดลงพร้อมกันในวันที่ 30 พฤศจิกายน[7] โดยกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนแรกเริ่มต้นช้ากว่าวันเริ่มฤดูอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มขึ้นในวันที่ 25 มิถุนายน

พายุ แก้

พายุเฮอริเคนแอลวิน แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 25 – 29 มิถุนายน
ความรุนแรง 75 ไมล์/ชม. (120 กม./ชม.) (1 นาที)
992 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.29 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 19 มิถุนายน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC) เริ่มพยากรณ์การก่อตัวของบริเวณความกดอากาศต่ำที่อยู่ทางชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศเม็กซิโก ภายในไม่กี่วัน[8]
  • วันที่ 22 มิถุนายน บริเวณที่ไม่เป็นระเบียบของฝนและพายุฟ้าคะนองมีปฏิสัมพันธ์กับคลื่นเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นและเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก[9]
  • วันที่ 25 มิถุนายน ระบบมีการจัดระเบียบขึ้นขณะที่เคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือเฉตะวันตก ห่างออกจากชายฝั่งเม็กซิโก จนเวลา 21:00 UTC พื้นที่ความแปรปรวนมีการจัดระบบการพาความร้อนอย่างเพียงพอ จึงมีการหมุนเวียนที่ศูนย์กลางที่ประมาณได้อย่างเพียงพอที่จะจัดให้เป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ลูกแรกของฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562[10]
  • วันที่ 26 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อนทวีกำลังแรงขึ้นอย่างช้า ๆ ขณะเคลื่อนตัวไปทางตะวันตก และอีกสิบแปดชั่วโมงต่อมา พายุดีเปรสชันเขตร้อนได้กลายเป็นพายุโซนร้อน และได้ชื่อว่า แอลวิน (Alvin)[11]

พายุเฮอริเคนบาร์บารา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 30 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม
ความรุนแรง 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) (1 นาที)
933 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.55 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคอสมี แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 6 – 8 กรกฎาคม
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1001 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.56 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนสี่-อี แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 14 กรกฎาคม
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเดลิลา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 22 – 25 กรกฎาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเอริก แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 27 กรกฎาคม – 5 สิงหาคม
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
952 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.11 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนฟลอสซี แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 28 กรกฎาคม – 6 สิงหาคม
ความรุนแรง 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที)
990 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.23 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกิล แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 3 – 5 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเฮนรีเอตต์ แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1005 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนอิโว แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 21 – 25 สิงหาคม
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
992 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.29 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนจูลีเอตต์ แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 3 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 1 – 7 กันยายน
ความรุนแรง 125 ไมล์/ชม. (205 กม./ชม.) (1 นาที)
953 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.14 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนร้อนอาโกนี แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 4 – 6 กันยายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนกิโก แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
950 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมารีโอ แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 23 กันยายน
ความรุนแรง 65 ไมล์/ชม. (100 กม./ชม.) (1 นาที)
992 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนโลเรนา แก้

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 22 กันยายน
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
986 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.12 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนนาร์ดา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 29 กันยายน – 1 ตุลาคม
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
998 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.47 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอมา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 12 – 14 ตุลาคม
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนออกเทฟ แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 17 – 19 ตุลาคม
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนพริสซิลลา แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 20 – 21 ตุลาคม
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเรย์มันด์ แก้

พายุโซนร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 15 – 17 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนยี่สิบเอ็ด-อี แก้

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
   
ระยะเวลา 16 – 18 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ แก้

รายชื่อต่อไปนี้ ใช้สำหรับการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2562 สำหรับชื่อที่ถูกถอน ถ้ามีจะได้รับการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิของปี พ.ศ. 2563 โดยชื่อที่ไม่ถูกปลด จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปีฤดูกาล พ.ศ. 2568[12] รายชื่อชุดนี้เป็นชุดเดียวกันกับที่เคยใช้ไปในฤดูกาล พ.ศ. 2556 เว้น มารีโอ ซึ่งถูกนำมาใช้แทนที่ แมนูเวล

ในปี 2562 มีชื่อถูกใช้ทั้งสิ้น 17 ชื่อ ดังนี้

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือในฤดูกาล 2562
รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ
01E แอลวิน
(Alvin)
07E ฟลอสซี
(Flossie)
13E กิโก
(Kiko)
19E พริสซิลลา
(Priscilla)
02E บาร์บารา
(Barbara)
08E กิล
(Gil)
15E โลเรนา
(Lorena)
20E เรย์มันด์
(Raymond)
03E คอสมี
(Cosme)
09E เฮนรีเอตต์
(Henriette)
14E มารีโอ
(Mario)
05E เดลิลา
(Dalila)
10E อิโว
(Ivo)
16E นาร์ดา
(Narda)
06E เอริก
(Erick)
11E จูลีเอตต์
(Juliette)
18E ออกเทฟ
(Octave)

ส่วนชื่อ โซเนีย (Sonia), ติโก (Tico), เวลมา (Velma), วอลลิส (Wallis), ซีนา (Xina), ยอร์ก (York) และ เซลดา (Zelda) ไม่ถูกใช้ในฤดูกาลนี้

สำหรับพายุที่ก่อตัวภายในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์เฮอริเคนแปซิฟิกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างเส้น 140 องศาตะวันตกถึงเส้นแบ่งวันสากล ชื่อที่จะใช้จะเป็นชื่อในชุดหมุนเวียนสี่ชุด[13] ในปี 2562 มีชื่อถูกใช้ทั้งสิ้น 2 ชื่อ ดังนี้

รหัสพายุ ชื่อพายุ รหัสพายุ ชื่อพายุ
12E อาโกนี
(Akoni)
01C เอมา
(Ema)

ผลกระทบ แก้

ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ประกอบด้วยชื่อพายุ ระยะเวลา พื้นที่ขึ้นฝั่งได้รับผลกระทบ ความเสียหาย และจำนวนผู้เลียชีวิตทั้งหมด ส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและการเสียชีวิตโดยทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ยังคงมีความเกี่ยวข้องกับพายุหมุนเขตร้อนอยู่ ความเสียหายและจำนวนผู้เสียชีวิตนั้นจะรวมไปจนถึงขณะที่พายุกลายเป็นพายุหมุนนอกเขตร้อน คลื่นในเขตร้อน หรือ บริเวณความกดอากาศต่ำด้วย ความเสียหายทั้งหมดอยู่ในค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ

สถิติของพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2562
ชื่อ
พายุ
วันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีความรุนแรงสูงสุด
ลมสูงสุด
1-นาที
ไมล์/ชม. (กม./ชม.)
ความกดอากาศ
(มิลลิบาร์)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย
(ดอลลาร์สหรัฐ)
เสียชีวิต อ้างอิง


แอลวิน 25 – 29 มิถุนายน พายุเฮอริเคนระดับ 1 75 (120) 992 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
บาร์บารา 30 มิถุนายน – 6 กรกฎาคม พายุเฮอริเคนระดับ 4 155 (250) 933 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คอสมี 6 – 8 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 50 (85) 1001 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สี่-อี 12 – 14 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 35 (55) 1006 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
เดลิลา 22 – 25 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 40 (65) 1005 ปานามา, คอสตาริกา, นิการากัว ไม่มี ไม่มี
เอริก 27 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุโซนร้อน 70 (110) 995 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ฟลอสซี 28 กรกฎาคม – ปัจจุบัน พายุโซนร้อน 40 (65) 1005 ไม่มี ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
7 ลูก 25 มิถุนายน–ฤดูกาลยังดำเนินอยู่   155 (250) 933 ไม่มี ไม่มี  

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Dorst Neal. When is hurricane season? (Report). Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2010. สืบค้นเมื่อ November 25, 2010.
  2. "Background Information: East Pacific Hurricane Season". Climate Prediction Center. College Park, Maryland: National Oceanic and Atmospheric Administration. May 22, 2014. สืบค้นเมื่อ May 29, 2014.
  3. 3.0 3.1 National Hurricane Center; Hurricane Research Division; Central Pacific Hurricane Center. "The Northeast and North Central Pacific hurricane database 1949–2017". United States National Oceanic and Atmospheric Administration's National Weather Service. A guide on how to read the database is available here.
  4. 4.0 4.1 "Temporada de Ciclones 2019". smn.cna.gob.mx. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-01. สืบค้นเมื่อ 2019-05-23.
  5. 5.0 5.1 "NOAA predicts above-normal 2019 hurricane season in the central Pacific". National Oceanic and Atmospheric Administration. May 23, 2019.
  6. "NOAA predicts above-normal 2019 hurricane season in the central Pacific". Climate Prediction Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. May 23, 2019.
  7. Neal Dorst (June 2, 2016). "TCFAQ G1) When is hurricane season?". Atlantic Oceanographic and Meteorological Laboratory. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-06. สืบค้นเมื่อ July 24, 2018.
  8. Lixion Avila (June 19, 2019). Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ June 25, 2019.
  9. Daniel P. Brown (June 23, 2019). Graphical Tropical Weather Outlook (Report). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ June 25, 2019.
  10. Daniel P. Brown (June 25, 2019). Tropical Depression One-E Discussion Number 1 (Report). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ June 25, 2019.
  11. Andrew S. Latto; Michael J. Brennan (June 26, 2019). Tropical Storm Alvin Discussion Number 4 (Report). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ June 26, 2019.
  12. "Tropical Cyclone Names". National Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. 11 เมษายน 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 เมษายน 2013. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2013.
  13. "Pacific Tropical Cyclone Names 2016-2021". Central Pacific Hurricane Center. National Oceanic and Atmospheric Administration. May 12, 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PHP)เมื่อ December 4, 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้